นักกิจกรรมส่งจดหมายร้องเรียนถึงกลไกพิเศษ UN เหตุถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน
อ่าน

นักกิจกรรมส่งจดหมายร้องเรียนถึงกลไกพิเศษ UN เหตุถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน

นักกิจกรรมไทยส่งจดหมายร้องเรียนผู้รายงานพิเศษแห่งสหประชาชาติเก้าฉบับ โดยเรียกร้องไทยเคารพสิทธิมนุษยชนและแก้ไขกฎหมายภายในประเทศให้สอดคล้องกับหลักการระหว่างประเทศ รวมถึงตรวจสอบกรณีการบังคับใช้กฎหมายในทางที่ละเมิดเสรีภาพที่ผ่านมาและการคุกคามนักกิจกรรม
4 ปีคดีเด็กชุมนุม ’63 ยังเดินหน้า เรียกร้องยุติคดี-ส่งเสียงให้ไทยคุ้มครองสิทธิเด็ก
อ่าน

4 ปีคดีเด็กชุมนุม ’63 ยังเดินหน้า เรียกร้องยุติคดี-ส่งเสียงให้ไทยคุ้มครองสิทธิเด็ก

วงเสวนาเล่าเรื่องผ่านเด็กและเยาวชนที่ถูกดำเนินคดีทางการเมือง ทนายความหรือที่ปรึกษากฎหมายและผู้เชี่ยวชาญด้านสิทธิเด็กและเยาวชน โดยมีข้อเรียกร้องสำคัญคือ การยกเลิกคดีเด็กและเยาวชนที่สืบเนื่องจากการใช้สิทธิและเสรีภาพในการแสดงออกและชุมนุม
เครือข่ายนิรโทษกรรมฯ ย้ำนิรโทษกรรมต้องรวมคดีม.112 
อ่าน

เครือข่ายนิรโทษกรรมฯ ย้ำนิรโทษกรรมต้องรวมคดีม.112 

เครือข่ายนิรโทษกรรมประชาชนเข้าเสนอข้อเรียกร้องในสามประเด็นหลักแบ่งเป็นการนิรโทษกรรมทุกคดีรวมมาตรา 112 สิทธิการประกันตัวและคุณภาพชีวิตของผู้ต้องขังคดีการเมือง ย้ำว่า การผ่านกฎหมายนิรโทษกรรมจะต้องรวมคดีตามมาตรา 112
จับตาพิพากษาคดี ม.112 นักกิจกรรมทะลุฟ้ากรณีเผาซุ้มฯในชุมนุม 15 ปีรัฐประหาร ‘49
อ่าน

จับตาพิพากษาคดี ม.112 นักกิจกรรมทะลุฟ้ากรณีเผาซุ้มฯในชุมนุม 15 ปีรัฐประหาร ‘49

พรุ่งนี้ (30 พฤษภาคม 2567) ศาลอาญานัดคาริม-จิตริน พลาก้านตง มิกกี้บัง ฟังคำพิพากษาคดีมาตรา 112 จากกรณีที่ถูกกล่าวหาว่า ร่วมกันวางเพลิงเผาทรัพย์ฯ และร่วมกันทำให้เสียทรัพย์ และแม็ค-สินบุรีในข้อหาวางเพลิง จากการชุมนุมครบรอบ 15 ปีรัฐประหาร 19 กันยายน 2549
รายงาน การปิดปากผู้ชุมนุมโดยอ้างเหตุสาธารณสุข : การใช้พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯในทางที่ผิด
อ่าน

รายงาน การปิดปากผู้ชุมนุมโดยอ้างเหตุสาธารณสุข : การใช้พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯในทางที่ผิด

รายงานสรุปสองปีครึ่ง ที่รัฐบาลพล.อ.ประยุทธ์ ประกาศพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ เพื่อควบคุมโควิด19 แต่นำมาใช้ดำเนินคดีกับผู้ชุมนุมต่อต้านรัฐบาลอย่างกว้างขวาง จนคดีการเมืองพุ่งสูงมากที่สุดอย่างไม่เคยมีมาก่อน
งานเสวนา “ข้อหาหยุมหยิมมากมาย นิรโทษกรรมเท่าที่ได้ก่อนดีไหม?”
อ่าน

งานเสวนา “ข้อหาหยุมหยิมมากมาย นิรโทษกรรมเท่าที่ได้ก่อนดีไหม?”

ชวนร่วมงานเสวนา เรียนรู้ปัญหาการดำเนินคดีต่อผู้ชุมนุมด้วยข้อหาที่ไม่ร้ายแรง แต่สร้างปัญหาให้กับเสรีภาพอย่างมาก และคุยต่อถึงโอกาสในการนิรโทษกรรม
ยกฟ้องข้อหามั่วสุม 10 คน-ทำร้ายตำรวจ 38 จำเลยคดี #ม็อบ28กุมภา
อ่าน

ยกฟ้องข้อหามั่วสุม 10 คน-ทำร้ายตำรวจ 38 จำเลยคดี #ม็อบ28กุมภา

30 มกราคม 2567 ศาลอาญาพิพากษายกฟ้องจำเลย 38 คน ในข้อหามั่วสุมตั้งแต่ 10 คนขึ้นไป และข้อหาต่อสู้ขัดขวางเจ้าพนักงาน จากการชุมนุม #ม็อบ28กุมภา ส่วนข้อหาฝ่าฝืนพ.ร.ก ฉุกเฉินฯ ลงโทษปรับ
3ปี ภาคีนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน: อยุติธรรม ความรุนแรง และการลอยนวล
อ่าน

3ปี ภาคีนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน: อยุติธรรม ความรุนแรง และการลอยนวล

ภาคีนักกฎหมายสิทธิมนุษยชนจัดงานครบรอบสามปี สรุปงานคดีที่ฟ้องกลับและใช้กลไกอื่นๆในการต่อสู้เพื่อความเป็นธรรมรวม 58 คดี ในคดีที่ฟ้องร้องเพิกถอนประกาศหรือคำสั่งที่เกี่ยวข้องกับพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ แทบทั้งหมดศาลยกฟ้องให้น้ำหนักการรับฟังพยานฝ่ายรัฐมาก
รอการลงโทษจำคุกเบนจา 2 ปี คดี 112 กรณีอ่านแถลงการณ์แนวร่วมมธ. ฉ.2 ศาลชี้เห็นควรให้โอกาสจำเลยกลับตัว
อ่าน

รอการลงโทษจำคุกเบนจา 2 ปี คดี 112 กรณีอ่านแถลงการณ์แนวร่วมมธ. ฉ.2 ศาลชี้เห็นควรให้โอกาสจำเลยกลับตัว

30 ตุลาคม 2566 ศาลอาญากรุงเทพใต้นัดเบนจา อะปัญ อดีตนักกิจกรรมแนวร่วมธรรมศาสตร์และการชุมนุมฟังคำพิพากษาคดีมาตรา 112  ที่เธอถูกกล่าวหาว่าปราศรัยและอ่านแถลงการณ์แนวร่วมธรรมศาสตร์และการชุมนุมฉบับที่สอง เรื่อง นายทุน-ขุนศึก-ศักดินา และการเมืองหลังระบบประยุทธ์ ระหว่างคาร์ม็อบวันที่ 10 สิงหาคม 2564 โดยที่เนื้อหาบางตอนของแถลงการณ์พาดพิงและก่อให้เกิดความเสียหายกับพระมหากษัตริย์ โดยศาลพิพากษาว่าเบนจามีความผิด ให้ลงโทษจำคุกในความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 เป็นเวลา 3 ปี และในความผิดฐานร่วมการชุมนุมฝ่าฝืนข้อกำหนดตามพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ จำคุก 1 ปี กับปรับ 12,000 บาท  เนื่องจากเบนจาให้การเป็นปร