วันแห่งความ “ลัก” ที่แสนยาวนาน
อ่าน

วันแห่งความ “ลัก” ที่แสนยาวนาน

14 กุมภาพันธ์ คือวันที่คนมีเจ้าของหลายคน จะกันตัวเองจากภารกิจทั้งปวง เพื่อให้เวลากับคนพิเศษ แต่ 14 กุมภาพันธ์ 2558 มีความแตกต่างไป เมื่อนักศึกษา นักกิจกรรมทางสังคมและประชาชนจำนวนหนึ่ง เลือกมา “เดท” กับ “การเลือกตั้ง” ในกิจกรรม “เลือกตั้งที่(รัก)ลัก” ซึ่ง กลุ่ม “พลเมืองโต้กลับ” จัดขึ้นที่หน้าหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร เพื่อรำลึกถึงการเลือกตั้งที่ถูกลัก (ขโมย
การชุมนุมของคนงานไทย/กัมพูชา : เสรีภาพที่เต็มไปด้วยขวากหนาม
อ่าน

การชุมนุมของคนงานไทย/กัมพูชา : เสรีภาพที่เต็มไปด้วยขวากหนาม

สำหรับคนงาน เสรีภาพในการชุมนุมเป็นช่องทางสำคัญที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิตได้ เพราะการชุมนุมจะสร้างพลังต่อรองให้มากขึ้นดีกว่าเรียกร้องลำพังคนเดียว ทว่าในทางปฏิบัติ ทั้งไทยและกัมพูชามีบทเรียนคล้ายๆ กัน คือ การใช้เสรีภาพในการชุมนุมของคนงานเต็มไปด้วยความเสี่ยงและบางครั้งราคาที่ต้องจ่ายไปคือชีวิต
คดีการชุมนุมที่หนองแซง: สิทธิตามรัฐธรรมนูญที่ถูกกดทับด้วยกฎหมายลูก
อ่าน

คดีการชุมนุมที่หนองแซง: สิทธิตามรัฐธรรมนูญที่ถูกกดทับด้วยกฎหมายลูก

หลังสิ้นคำพิพากษาศาลฎีกา ที่ลงโทษผู้ชุมนุมที่ประท้วงการก่อสร้างโรงไฟฟ้า ฐานปิดกั้นทางหลวงและใช้เครื่องเสียง ตี๋ ตรัยรัตนแสงมณี หนึ่งในจำเลยเห็นว่า แม้รัฐธรรมนูญจะรับรองสิทธิการชุมนุม แต่ก็ไม่ได้มีบทบัญญัติที่ชัดเจน อีกทั้งคำพิพากษาของศาลฎีกาก็ชี้ว่า ศาลรัฐธรรมนูญไม่เคยตีความหรือบัญญัติเรื่องการชุมนุมเอาไว้ สิทธิตามรัฐธรรมนูญจึงเป็นไปอย่างจำกัด
จาก “ชุมนุม”  สู่ “มั่วสุม- ก่อความวุ่นวาย-ใช้กำลังประทุษร้าย”
อ่าน

จาก “ชุมนุม” สู่ “มั่วสุม- ก่อความวุ่นวาย-ใช้กำลังประทุษร้าย”

“การชุมนุม” เป็นสิทธิการแสดงออกที่รัฐธรรมนูญไทยรับรองไว้ และเป็นปฏิบัติการสำคัญของการเมืองภาคประชาชน เพื่อให้ข้อเรียกร้องของกลุ่มตนให้ได้รับความสนใจ ที่ผ่านมามีความพยายามจัดการดูแลการชุมนุมโดยเสนอให้ตรากฎหมายเกี่ยวกับการชุมนุมสาธารณะขึ้นมาเป็นการเฉพาะแต่ยังไม่สำเร็จ อย่างไรก็ดี เวลานี้มีคดีอันสืบเนื่องมาจากการใช้เสรีภาพในการชุมนุมเรียกร้องทางการเมืองหลายคดี และคำพิพากษาของศาลในคดีเหล่านี้อาจมีผลกระทบต่อการชุมนุมเรียกร้องกันในอนาคต  
23-30 สค.นี้ อดีตคนงานไทรอัมพ์ขึ้นศาล เป็นจำเลยคดีชุมนุมโดยไม่สงบ
อ่าน

23-30 สค.นี้ อดีตคนงานไทรอัมพ์ขึ้นศาล เป็นจำเลยคดีชุมนุมโดยไม่สงบ

ในปี 2552 หลังคนงานไทรอัมพ์ออกมาชุมนุมเพื่อจะยื่นหนังสือต่อนายกฯ ร้องเรียนการถูกเลิกจ้าง แต่กลับถูกตำรวจเปิดเครื่อง LRAD หรือเครื่องส่งเสียงรบกวนระยะไกลใส่ ส่งผลให้บางส่วนมีอาการวิงเวียน บ้างถึงขั้นแก้วหูอักเสบ ต่อมาแกนนำผู้ชุมนุมถูกฟ้องคดีฐานชุมนุมโดยไม่สงบ การสืบพยานจะมีขึ้นครั้งแรกวันที่ 23 สิงหาคมนี้
จากคดีจินตนา…ถึงเวลาปรับกระบวนการยุติธรรม?
อ่าน

จากคดีจินตนา…ถึงเวลาปรับกระบวนการยุติธรรม?

การดำเนินคดีชาวบ้านที่ต่อสู้เพื่อสิทธิ สะท้อนให้เห็นอะไรในระบบยุติธรรมไทยบ้าง ฟังเรื่องจากปากคนที่เคยถูกฟ้อง-ติดคุก พร้อมข้อเสนอจากนักวิชาการ
ช่วยกันตัด เฉือน หั่น พ.ร.บ.ภาพยนตร์
อ่าน

ช่วยกันตัด เฉือน หั่น พ.ร.บ.ภาพยนตร์

ในปี 2553 เครือข่ายคนดูหนังหารือสมาชิกเกี่ยวกับจุดยืน ที่มีต่อพระราชบัญญัติภาพยนตร์และวิดีทัศน์ 2551 ซึ่งมีเนื้อหาให้จัดประเภทภาพยนตร์และให้อำนาจสั่ง “ห้ามฉาย”