สรุปคำฟ้อง ‘ทวงคืนเสรีภาพ’ ยกเลิกคำสั่งหัวหน้าคสช. ที่ 3/2558
อ่าน

สรุปคำฟ้อง ‘ทวงคืนเสรีภาพ’ ยกเลิกคำสั่งหัวหน้าคสช. ที่ 3/2558

กลุ่มฟื้นฟูประชาธิปไตยและภาคประชาชนกลุ่มต่างๆ ได้ยื่นคำร้องต่อศาลรัฐธรรมนูญ โดยอาศัยสิทธิตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 213 เพื่อขอให้วินิจฉัยว่า คำสั่งหัวหน้า คสช. ที่ 3/2558 ข้อ 6 และข้อ 12 มีข้อความขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่ รวมถึงคำสั่งควบคุมตัวและการควบคุมตัวผู้ร้องไว้โดยอาศัยอำนาจตามคำสั่งหัวหน้า คสช. ที่ 3/2558 เป็นการกระทำที่ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่
สนช.มาเงียบๆ! ผ่านร่าง พ.ร.บ.กสทช. รื้อองค์กรจัดสรรคลื่นส่อให้ทหารคุมยาว 12 ปี
อ่าน

สนช.มาเงียบๆ! ผ่านร่าง พ.ร.บ.กสทช. รื้อองค์กรจัดสรรคลื่นส่อให้ทหารคุมยาว 12 ปี

สนช.ผ่านร่างแก้ไข พ.ร.บ. กสทช. โดยที่ประชาชนแทบไม่ได้รับรู้ด้วย การแก้ไขครั้งนี้จะลดความเป็นอิสระให้ กสทช. ทำงานภายใต้แผนระดับชาติของกระทรวงดิจิทัล เปลี่ยนหลักการเรื่องคลื่นความถี่เป็นสมบัติสาธารณะ
หวั่นร่างพ.ร.บ. กสทช. ใหม่ รัฐต้อง “เสียค่าโง่” เพื่อขอคืนคลื่นความถี่
อ่าน

หวั่นร่างพ.ร.บ. กสทช. ใหม่ รัฐต้อง “เสียค่าโง่” เพื่อขอคืนคลื่นความถี่

วงเสวนาถก ร่างแก้ไข พ.ร.บ.กสทช. หมอประวิทย์ค้านระบบจัดสรรคลื่นโดยไม่ต้องประมูล ด้านวรพจน์ NBTC Policy Watch ชี้ การจะแก้กฎหมายให้จ่ายค่าชดเชยการคืนคลื่นเป็นการ “เสียค่าโง่” เพราะคลื่นความถี่เป็นของสาธารณะอยู่แล้ว
มีชัย แจงกฎหมายลูก “กสม.” ให้ช่วยแก้ต่างให้ประเทศ เพราะมุมมองแต่ละประเทศไม่เหมือนกัน
อ่าน

มีชัย แจงกฎหมายลูก “กสม.” ให้ช่วยแก้ต่างให้ประเทศ เพราะมุมมองแต่ละประเทศไม่เหมือนกัน

กรธ.เปิดรับฟังความคิดเห็นร่างพ.ร.ป.ว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ โดยมีชัย ฤุชพันธ์ุ ประธานกรธ. กล่าวถึงปัญหาสำคัญของกสม. ที่ร่างพ.ร.ป.ฉบับใหม่จะพัฒนาให้ดีขึ้น และกล่าวถึงประเด็นในร่างรัฐธรรมนูญ ที่ให้กสม.ออกมาชี้แชงกรณีมีรายงานที่ไม่จริงเกี่ยวกับประเทศไทยว่าไม่ใช่ทำหน้าที่โฆษกรัฐบาล
สรุปเสวนา: 5 ปัญหาประชาธิปไตยไทย ทำไมดึกดำบรรพ์
อ่าน

สรุปเสวนา: 5 ปัญหาประชาธิปไตยไทย ทำไมดึกดำบรรพ์

นักวิชาการเผย อุปสรรคประชาธิปไตย 5 ข้อ ตุลาการแทรกแซงการเมือง ชนชั้นนำเปิดทางกุมอำนาจ นายทุนไม่เอื้อประชาธิปไตย รธน.ทำรัฐมีปัญหา วัฒนธรรมปลูกฝังชาตินิยม
“ยกเครื่องใหม่” คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ
อ่าน

“ยกเครื่องใหม่” คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ

ร่าง พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ อยู่ระหว่างการพิจารณาของคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ โดยสาระสำคัญของร่างฉบับปัจจุบัน ได้ "ยกเครื่อง" คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนเสียใหม่ ไม่ว่าจะเป็นการเพิ่มเติมคุณสมบัติของกรรมการสิทธิฯ แก้ไขเรื่องผู้ทำหน้าที่เป็นคณะกรรมการสรรหา และเพิ่มหน้าที่ชี้แจงเพื่อ "แก้ต่าง" สถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศ เป็นต้น
สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: เมื่อที่มาองค์กรอิสระไม่เน้น “ตัวแทนประชาชน”
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: เมื่อที่มาองค์กรอิสระไม่เน้น “ตัวแทนประชาชน”

การทำงานขององค์กรอิสระหลายครั้งก่อให้เกิดการตั้งคำถามจากประชาชน จนมีการเรียกร้องให้องค์กรอิสระและศาลรัฐธรรมนูญยึดโยงกับประชาชนให้มากขึ้น แต่ทว่าที่มาของ "คณะกรรมการสรรหา" ตามร่างรัฐธรรมนูญฉบับลงประชามติ กลับมีสัดส่วนตัวแทนที่ยึดโยงกับประชาชนเป็นเสียงส่วนน้อยอยู่เสมอ ถึงแม้ร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้มีการเพิ่มอำนาจขององค์กรอิสระให้มากกว่าเดิมก็ตาม
สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: สร้างมาตรฐานจริยธรรม ควบคุมฝ่ายการเมือง
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: สร้างมาตรฐานจริยธรรม ควบคุมฝ่ายการเมือง

ในร่างรัฐธรรมนูญฉบับมีชัย มีกลไกปราบโกงในหลายระดับ ซึ่งอำนาจตรวจสอบและกำหนดขั้นตอนการลงโทษเหล่านี้ กรธ.ตัดสินใจมอบอำนาจหน้าที่ให้กับศาลรัฐธรรมนูญและองค์กรอิสระเป็นหลัก โดยมีหนึ่งในเครื่องมือที่สำคัญ คือ “มาตรฐานทางจริยธรรม”
สรุปเหตุผลของศาลรัฐธรรมนูญ ทำไม พ.ร.บ.ประชามติฯ ถึงไม่ขัดรัฐธรรมนูญ
อ่าน

สรุปเหตุผลของศาลรัฐธรรมนูญ ทำไม พ.ร.บ.ประชามติฯ ถึงไม่ขัดรัฐธรรมนูญ

หลังจากเมื่อวันที่ 29 มิถุนายน ศาลรัฐธรรมนูญมีมติเอกฉันท์ พ.ร.บ.ประชามติฯ มาตรา 61 วรรคสอง ไม่ขัดรัฐธรรมนูญ จนกระทั่งวันที่ 4 กรกฎาคม ศาลรัฐธรรมนูญได้เผยแพร่ร่างคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ ๔/๒๕๕๙ (อย่างไม่เป็นทางการ) ออกมา ไอลอว์สรุปเหตุผลของศาลรัฐธรรมนูญว่า ทำไม พ.ร.บ.ประชามติฯ ถึงไม่ขัดรัฐธรรมนูญ