ข้าหลวงใหญ่ฯ – ผู้รายงานพิเศษ UN แสดงความกังวลเรื่องการยุบพรรคก้าวไกล พร้อมขอให้ทบทวนการใช้มาตรา 112
อ่าน

ข้าหลวงใหญ่ฯ – ผู้รายงานพิเศษ UN แสดงความกังวลเรื่องการยุบพรรคก้าวไกล พร้อมขอให้ทบทวนการใช้มาตรา 112

อ่านความเห็นและท่าทีของข้าหลวงใหญ่สิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติและผู้รายงานพิเศษด้านเสรีภาพการแสดงออกต่อกรณีการยุบพรรคก้าวไกล
หลังเศรษฐา-ครม. พ้นตำแหน่ง สส. ต้องโหวตเลือกนายกฯ จากบัญชีพรรคการเมือง
อ่าน

หลังเศรษฐา-ครม. พ้นตำแหน่ง สส. ต้องโหวตเลือกนายกฯ จากบัญชีพรรคการเมือง

14 สิงหาคม 2567 ศาลรัฐธรรมนูญฟันเศรษฐา ทวีสิน พ้นตำแหน่งนายกฯ ครม. พ้นตำแหน่งตามทั้งคณะ ส่งผลให้ต้องมีการเลือกนายกฯ ใหม่และตั้ง ครม. ใหม่
ศาลรธน. มีมติ 5 : 4 ฟันเศรษฐาพ้นตำแหน่งนายกฯ ปมตั้ง “พิชิต ชื่นบาน” เป็น รมต.
อ่าน

ศาลรธน. มีมติ 5 : 4 ฟันเศรษฐาพ้นตำแหน่งนายกฯ ปมตั้ง “พิชิต ชื่นบาน” เป็น รมต.

14 สิงหาคม 2567 ศาลรัฐธรรมนูญมีมติ 5 ต่อ 4 ให้เศรษฐา ทวีสิน พ้นตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากขาดคุณสมบัติ ไม่มีความซื่อสัตย์สุจริตเป็นที่ประจักษ์ และมีพฤติกรรมอันเป็นการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรง จากปมทูลเกล้าฯ แต่งตั้งพิชิต ชื่นบาน เป็นรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีทั้งที่พิชิตเคยต้องคำพิพากษาจำคุกหกเดือนฐานละเมิดอำนาจศาล 
ย้อนดู ชะตากรรม 5 นายกฯ ในมือศาลรัฐธรรมนูญ ใครรอด/ไม่รอด
อ่าน

ย้อนดู ชะตากรรม 5 นายกฯ ในมือศาลรัฐธรรมนูญ ใครรอด/ไม่รอด

14 สิงหาคม 2567 การตัดสินอนาคตทางการเมืองของเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี โดยศาลรัฐธรรมนูญ ไม่ใช่ครั้งแรกที่นายกฯ ไทยต้องเผชิญหน้ากับองค์กรที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง แต่มีบทบาทสูงในการชี้ทิศทางการเมืองไทย นับตั้งแต่รัฐธรรมนูญ 2540 2550 และ 2560 มีนายกฯ ห้าคนที่ต้องเข้าสู่การพิจารณาคุณสมบัติโดยศาลรัฐธรรมนูญ
จับตาศาลรัฐธรรมนูญตัดสินคดีเศรษฐา ปมตั้ง “พิชิต ชื่นบาน” เป็นรัฐมนตรี
อ่าน

จับตาศาลรัฐธรรมนูญตัดสินคดีเศรษฐา ปมตั้ง “พิชิต ชื่นบาน” เป็นรัฐมนตรี

14 สิงหาคม 2567 ศาลรัฐธรรมนูญนัดฟังคำวินิจฉัยคดีเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี ปม 40 สว. ชุดพิเศษ ชงเรื่องไปยังศาลรัฐธรรมนูญว่าการที่เศรษฐาเคยตั้งพิชิต ชื่นบาน เป็นรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ทั้งที่พิชิตเคยต้องคำพิพากษาคดีละเมิดอำนาจศาล เป็นพฤติกรรมอันเป็นการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรงตามรัฐธรรมนูญ 2560
นครินทร์-ปัญญา ตุลาการจาก รธน. 50 อยู่ยาว สั่งยุบพรรคไปแล้วสามพรรค
อ่าน

นครินทร์-ปัญญา ตุลาการจาก รธน. 50 อยู่ยาว สั่งยุบพรรคไปแล้วสามพรรค

นครินทร์ เมฆไตรรัตน์ และปัญญา อุดชาชน ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญจากรัฐธรรมนูญ 2550 ที่ “อยู่ยาว” และตัดสินยุบสามพรรคการเมือง ไทยรักษาชาติ-อนาคตใหม่-ก้าวไกล
ส่องวาระตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ สองคนจะพ้นบัลลังก์ปลายปี 67 เกินครึ่งยังอยู่ยาวถึงปี 70
อ่าน

ส่องวาระตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ สองคนจะพ้นบัลลังก์ปลายปี 67 เกินครึ่งยังอยู่ยาวถึงปี 70

เปิดวาระ 9 ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ สองคนที่ผ่านความเห็นชอบจาก สนช. พ้นตำแหน่งปลายปี 67 เกินครึ่งอยู่ยาวถึงปี 70
ศาลรัฐธรรมนูญมีมติ “เอกฉันท์” สั่งยุบพรรคก้าวไกล แบนกรรมการ 11 คน 10 ปี
อ่าน

ศาลรัฐธรรมนูญมีมติ “เอกฉันท์” สั่งยุบพรรคก้าวไกล แบนกรรมการ 11 คน 10 ปี

7 สิงหาคม 2567 ศาลรัฐธรรมนูญสั่งยุบพรรคก้าวไกล เหตุการเสนอแก้ไขมาตรา 112 การหาเสียง และการกระทำอื่นที่เกี่ยวข้องกับ มาตรา 112 เข้าข่ายล้มล้าง-อาจเป็นปฏิปักษ์ต่อการปกครองฯ
ย้อนรอยกำเนิดศาลรัฐธรรมนูญ ตุลาการภิวัฒน์ และข้อเสนอต่อการปฏิรูป
อ่าน

ย้อนรอยกำเนิดศาลรัฐธรรมนูญ ตุลาการภิวัฒน์ และข้อเสนอต่อการปฏิรูป

นับตั้งแต่ช่วงวิกฤติการเมืองในปี 2549 จนถึงวิกฤติรัฐธรรมนูญในปี 2567 เป็นเวลาเกือบสองทศวรรษที่ประเทศไทยต้องเผชิญหน้ากับระบบ “ตุลาการภิวัฒน์” หรือ การที่สถาบันตุลาการขยายอำนาจเข้ามามีบทบาททางการเมืองผ่านการตัดสินคดีความ และการที่ฝ่ายการเมืองที่สนับสนุนอำนาจรัฐประหารก็จงใจหยิบยืมมือของสถาบันตุลาการมาใช้โดยการส่งคดีที่เกิดจากความขัดแย้งทางการเมืองให้ “ศาล” ใช้อำนาจชี้ขาด
จับตาคดียุบพรรคก้าวไกล ปมเสนอแก้ ม. 112 ล้มล้างการปกครองฯ 
อ่าน

จับตาคดียุบพรรคก้าวไกล ปมเสนอแก้ ม. 112 ล้มล้างการปกครองฯ 

7 สิงหาคม 2567 เวลา 15.00 น. ศาลรัฐธรรมนูญนัดฟังคำวินิจฉัย คดียุบพรรคก้าวไกล หลังจากที่ศาลรัฐธรรมนูญแถลงยุติการไต่สวน ในขณะที่พรรคก้าวไกลแถลงข่าวบรรยายข้อต่อสู้ที่ใช้ในชั้นศาล ยืนยันว่าการยื่นคำร้องของ กกต. ไม่ชอบด้วยกฎหมายและศาลรัฐธรรมนูญไม่มีอำนาจตัดสินคดีนี้