คณะกรรมการสรรหาฯ อ้างบทเฉพาะกาล พ.ร.ป.ศาลรธน ให้ “วรวิทย์” อยู่ต่อจนครบ 9 ปี แม้วาระตามกฎหมายมีแค่ 7 ปี
อ่าน

คณะกรรมการสรรหาฯ อ้างบทเฉพาะกาล พ.ร.ป.ศาลรธน ให้ “วรวิทย์” อยู่ต่อจนครบ 9 ปี แม้วาระตามกฎหมายมีแค่ 7 ปี

คณะกรรมการสรรหาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ พิจารณาปมวาระการดำรงตำแหน่งวรวิทย์ กังศศิเทียม มีอายุครบ 70 ปี ตามรัฐธรรมนูญ 2550
วงเสวนาชี้ บทบาท กสม. ในรอบสองทศวรรษยังล้มเหลว-พึ่งพาไม่ได้
อ่าน

วงเสวนาชี้ บทบาท กสม. ในรอบสองทศวรรษยังล้มเหลว-พึ่งพาไม่ได้

9 มีนาคม 2565 สถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา จัดงานเสวนา “เหลียวหลังแลหน้า 2 ทศวรรษสิทธิมนุษยชนในสังคมไทย: เราจะก้าวไปด้วยกัน”
กรรมการ กสทช. ชุดใหม่กำลังมา หลังถูก คสช. แช่แข็งกระบวนการจนอยู่ครบทศวรรษ
อ่าน

กรรมการ กสทช. ชุดใหม่กำลังมา หลังถูก คสช. แช่แข็งกระบวนการจนอยู่ครบทศวรรษ

คณะกรรมการกสทช. ชุดแรกดำรงตำแหน่งมาอย่างยาวนานเป็นเวลาถึง 10 ปี นับตั้งแต่ปี 2554  สาเหตุที่อยู่มาได้นานก็เพราะสภาแต่งตั้งของ คสช. ช่วยกันคว่ำกระดานยื้อเวลาการสรรหาชุดใหม่ออกไปเรื่อยๆ ประกอบกับ คสช. ก็ใช้อำนาจ "มาตรา44" ระงับการสรรหากรรมการชุดใหม่
7 ปี แห่งความถดถอย. : เมื่อการเมืองสองมาตรฐาน เพราะเกมถ่วงความยุติธรรม
อ่าน

7 ปี แห่งความถดถอย. : เมื่อการเมืองสองมาตรฐาน เพราะเกมถ่วงความยุติธรรม

หลังการรัฐประหารปี 2557 องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญกลายเป็นส่วนของระบบเผด็จการ คสช. ตลอดเจ็ดปีที่ผ่านมา องค์กรเหล่านี้เข้ามายึดพื้นที่ทางการเมือง เป็นส่วนหนึ่งในการรักษาอำนาจ คสช. และทำลายฝ่ายตรงข้าม คสช.
ลุ้น! ธรรมนัสพ้นตำแหน่ง รมช./ส.ส. เหตุต้องคำพิพากษาคดีค้ายาเสพติดที่ออสเตรเลีย
อ่าน

ลุ้น! ธรรมนัสพ้นตำแหน่ง รมช./ส.ส. เหตุต้องคำพิพากษาคดีค้ายาเสพติดที่ออสเตรเลีย

5 พฤษภาคม 2564 เวลา 15.00 น. เป็นต้นไป ศาลรัฐธรรมนูญนัดอ่านคำวินิจฉัยในประเด็นคุณสมบัติการเป็นส.ส. และรัฐมนตรีของร้อยเอก ธรรมนัส พรมเผ่า เหตุต้องคำพิพากษาถึงที่สุดของศาลต่างประเทศในคดีค้ายาเสพติด หากศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่าขาดคุณสมบัติ จะส่งผลต่อการสิ้นสุดการเป็นรัฐมนตรีและส.ส. ของร้อยเอก ธรรมนัส พรมเผ่า
สรุปร่าง “รื้อระบอบประยุทธ์” ยกเลิก ส.ว. รื้อองค์กรอิสระ เพิ่มอำนาจฝ่ายค้าน
อ่าน

สรุปร่าง “รื้อระบอบประยุทธ์” ยกเลิก ส.ว. รื้อองค์กรอิสระ เพิ่มอำนาจฝ่ายค้าน

ร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญรื้อระบอบประยุทธ์ ของกลุ่ม Re-solution เสนอให้ยกเลิกวุฒิสภา เปลี่ยนมาใช้เป็นระบบ สภาเดี่ยว กำหนดให้นายกรัฐมนตรีต้องเป็น ส.ส. รื้อที่มาองค์กรอิสระและศาลรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งหมด รวมทั้งออกแบบกลไกใหม่ที่หวังจะป้องกันไม่ให้การรัฐประหารเกิดขึ้นได้อีก
ความขัดแย้งทางการเมืองจากผลคำตัดสินของ “ศาลรัฐธรรมนูญ”
อ่าน

ความขัดแย้งทางการเมืองจากผลคำตัดสินของ “ศาลรัฐธรรมนูญ”

ศาลรัฐธรรมนูญถูกก่อตั้งขึ้นครั้งแรกภายใต้รัฐธรรมนูญ ปี 2540 ด้วยความคาดหวังว่า ศาลจะเป็นองค์กรพิทักษ์รัฐธรรมนูญ ทำหน้าที่วินิจฉัยข้อพิพาททางกฎหมายหรือตรวจสอบอำนาจรัฐให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญ แต่หลังวิกฤติการเมืองที่เริ่มต้นในปี 2549 เป็นต้นมา ศาลรัฐธรรมนูญค่อยๆ ขยายบทบาทและเข้ามาเป็นผู้เล่นทางการเมืองเพื่อตอบสนองต่อกลุ่มที่เป็นปรปักษ์กับพรรคการเมืองที่ได้รับเสียงข้างมากจากประชาชน
รัฐสภามีมติเสียงข้างมากยื่นศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย มีอำนาจแก้ไขรัฐธรรมนูญเพื่อตั้ง สสร. หรือไม่?
อ่าน

รัฐสภามีมติเสียงข้างมากยื่นศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย มีอำนาจแก้ไขรัฐธรรมนูญเพื่อตั้ง สสร. หรือไม่?

9 กุมภาพันธ์ 2564 ที่ประชุมรัฐสภามีมติเห็นด้วย 366 ต่อ 315 เสียง ให้ส่งศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยประเด็นปัญหาอำนาจและหน้าที่ของรัฐสภา ว่ามีอำนาจในการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ เพื่อกำหนดบทบัญญัติว่าด้วยการจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
กรรมการสิทธิฯ ชุดใหม่กำลังจะเริ่มงาน หลังสภา คสช. คัดสรรมา 4 รอบ
อ่าน

กรรมการสิทธิฯ ชุดใหม่กำลังจะเริ่มงาน หลังสภา คสช. คัดสรรมา 4 รอบ

หลังกรรมการสิทธิฯ ถูก “เซ็ตซีโร่” เมื่อปี 2560 บทบาทขององค์กรนี้ก็หายหน้าไป การสรรหาชุดใหม่ก็ช้า เพราะ สนช. “ไม่เห็นชอบ” ให้ใครมานั่งตำแหน่งนี้ง่ายๆ ลงมติไปสี่รอบจึงได้มา 6 จาก 7 คน