89 ปีอภิวัฒน์สยาม: ย้อนดู “คำปรารภ” รัฐธรรมนูญไทย บอกเล่าอะไรบ้าง?
อ่าน

89 ปีอภิวัฒน์สยาม: ย้อนดู “คำปรารภ” รัฐธรรมนูญไทย บอกเล่าอะไรบ้าง?

ในโอกาสครบรอบ 89 ปี เปลี่ยนแปลงการปกครองจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็นประชาธิปไตย ชวนย้อนดูคำปรารภในรัฐธรรมนูญไทยตั้งแต่ฉบับแรกจนถึงฉบับปัจจุบัน ว่าคำปรารภรัฐธรรมนูญเหล่านั้นบอกเล่าเรื่องอะไรบ้าง และ “ประชาชน” มีพื้นที่มากแค่ไหนในคำปรารภรัฐธรรมนูญ   
เปรียบเทียบสามระบบเลือกตั้งแบบไหนเหมาะสมกับการเมืองไทย
อ่าน

เปรียบเทียบสามระบบเลือกตั้งแบบไหนเหมาะสมกับการเมืองไทย

การแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2560 นำมาสู่ข้อถกเถียงเกี่ยวกับระบบเลือกตั้ง โดยมีการเสนอให้กลับไปใช้แบบรัฐธรรมนูญ 2540 แต่การเสนอแก้ไขถูกกล่าวหาว่า จะช่วยขยายการสืบทอดอำนาจให้ พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ข้อกล่าวหาที่จริงหรือไม่ และระบบเลือกตั้งแบบไหนที่เหมาะกับประเทศไทย
การพิจารณาคดีโดยเปิดเผย: กลไกตรวจสอบอำนาจตุลาการโดยประชาชน
อ่าน

การพิจารณาคดีโดยเปิดเผย: กลไกตรวจสอบอำนาจตุลาการโดยประชาชน

การพิจารณาคดีโดยเปิดเผย (Public Trial) เป็นส่วนหนึ่งของสิทธิที่จะได้รับการพิจารณาคดีอย่างเป็นธรรม ครอบครัว ญาติ เพื่อนฝูง องค์กรด้านสิทธิมนุษยชน สื่อมวลชน หรือประชาชนคนทั่วไปที่สนใจต้องสามารถเข้าไปร่วมรับฟังกระบวนการไต่สวนในศาลได้
เสรีภาพทางวิชาการ ในบรรยากาศใต้ระบอบแห่งการ “ย้อนกลับ”
อ่าน

เสรีภาพทางวิชาการ ในบรรยากาศใต้ระบอบแห่งการ “ย้อนกลับ”

5 เมษายน 2564 เวลา 13.30 – 16.30 น. ศูนย์วิจัย ดิเรก ชัยนาม คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมกับโครงการบัณฑิตศึกษา คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และสำนักพิมพ์ฟ้าเดียวกัน จัดงานเสวนาวิชาการในหัวข้อ เสรีภาพทางวิชาการ ในสภาวะเสื่อมถอย
แก้รัฐธรรมนูญ: ถึงรัฐธรรมนูญจะแก้ง่ายขึ้นแต่เกมส์การแก้ยังอยู่ในมือ คสช.
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ: ถึงรัฐธรรมนูญจะแก้ง่ายขึ้นแต่เกมส์การแก้ยังอยู่ในมือ คสช.

มาตรา 256 ของรัฐธรรมนูญ 2560 หรือมาตราที่ว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการแก้รัฐธรรมนูญ คือ กุญแจสำคัญในการปลดล็อกการเมืองไทยออกจากวังวนอำนาจของคสช. และพาประเทศกลับสู่ระบอบประชาธิปไตยเต็มไปได้อีกครั้ง ด้วยเหตุนี้ จึงมีความพยายามของรัฐสภาที่จะแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญในวาระสองเพื่อทำให้รัฐธรรมนูญแก้ง่ายขึ้น โดยให้ใช้เสียง "สามในห้า" ของรัฐสภา แต่ทว่า หลักเกณฑ์และวิธีการดังกล่าวก็ยังคงทำให้คสช. เป็นฝ่ายได้เปรียบอยู่ดี  
จาก 40 ถึง 60 เปรียบเทียบบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ หมวดพระมหากษัตริย์
อ่าน

จาก 40 ถึง 60 เปรียบเทียบบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ หมวดพระมหากษัตริย์

เมื่อย้อนดู หมวด 2 พระมหากษัตริย์ที่กำลังกลายเป็นประเด็นต้องห้ามแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2560 ก็ได้กำหนดแตกต่างจากอดีต เรียกได้ว่าการแก้ไขหมวด 2 มีมาอย่างต่อเนื่องก่อนหน้านี้ และมีลักษณะเป็นการขยายพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ให้เพิ่มมากขึ้นกว่าในอดีต
หลักพระมหากษัตริย์ทรงกระทำผิดมิได้ (The King Can Do No Wrong) ตามรัฐธรรมนูญ 20 ฉบับ
อ่าน

หลักพระมหากษัตริย์ทรงกระทำผิดมิได้ (The King Can Do No Wrong) ตามรัฐธรรมนูญ 20 ฉบับ

หลักพระมหากษัตริย์ทรงกระทำผิดมิได้ ไม่ได้ห้ามมิให้บุคคลฟ้องพระมหากษัตริย์ ดังที่ปรากฏใน "มาตรา 6" รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเพียงอย่างเดียว แต่มีหลักการอื่นที่กำกับควบคุมพระราชอำนาจประกอบกันด้วย คือ หลักการที่ว่า กษัตริย์ไม่มีพระราชอำนาจกระทำสิ่งต่างๆ ด้วยตัวเอง ต้องมีผู้ลงนามรับสนอง
ปัญหารัฐธรรมนูญ 2560: สวัสดิการที่ยังไม่ชัดเจน และเปิดช่องว่างกว่าฉบับก่อนๆ
อ่าน

ปัญหารัฐธรรมนูญ 2560: สวัสดิการที่ยังไม่ชัดเจน และเปิดช่องว่างกว่าฉบับก่อนๆ

รัฐธรรมนูญไทยในอดีตเคยวางร่องรอยของการจัดสวัสดิการไว้และยึดมั่นในหลักการบางประการมาอย่างต่อเนื่อง ทว่ารัฐธรรมนูญ 2560 ได้ปรับเปลี่ยนถ้อยคำเล็กๆ น้อยๆ ที่เคยมีอยู่ในรัฐธรรมนูญฉบับก่อนๆ คล้ายวางกับดักเป็นช่องว่างให้รัฐมีภาระการดูแลสวัสดิการประชาชนลดถอยลง
ปัญหารัฐธรรมนูญ 2560: สิทธิเสรีภาพที่อยู่ภายใต้ “ความมั่นคงของรัฐ”
อ่าน

ปัญหารัฐธรรมนูญ 2560: สิทธิเสรีภาพที่อยู่ภายใต้ “ความมั่นคงของรัฐ”

รัฐธรรมนูญ 2560 แม้จะรับรองหลักความเสมอภาค หลักห้ามเลือกปฏิบัติ และสิทธิเสรีภาพไว้หลายประการ ทว่าก็ยังขาดความชัดเจนในบางประเด็น รายละเอียดหลายประการที่เปลี่ยนแปลงไปจากรัฐธรรมนูญในอดีต และยังเต็มไปด้วยข้อจำกัดมากมาย ที่ส่งผลให้การใช้สิทธิเสรีภาพของประชาชนยังต้องอยู่ภายใต้ "ความมั่นคงของรัฐ"
88 ปีอภิวัฒน์สยาม: หลักการจากรัฐธรรมนูญฉบับแรก ที่ยังเหลือสู่ฉบับปัจจุบัน
อ่าน

88 ปีอภิวัฒน์สยาม: หลักการจากรัฐธรรมนูญฉบับแรก ที่ยังเหลือสู่ฉบับปัจจุบัน

เมื่อพิจารณาถึงเนื้อหาสาระของรัฐธรรมนูญฉบับแรกแล้ว แม้จะถูกบังคับใช้เพียงระยะเวลาสั้นๆ แต่ก็เต็มไปด้วยหลักคิดที่นำเสนอกลไกรับรองอำนาจของประชาชนที่น่าพิจารณาเปรียบเทียบกับรัฐธรรมนูญ 2560 เพื่อให้เห็นระบอบการเมืองในฝันเมื่อวันนั้นที่ยังพอหลงเหลือหรือถูกทำลายไปแล้วในวันนี้