รัฐธรรมนูญเขียนชัด องคมนตรีตั้งตามพระราชอัธยาศัย ต้องมีผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ
อ่าน

รัฐธรรมนูญเขียนชัด องคมนตรีตั้งตามพระราชอัธยาศัย ต้องมีผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ

เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2566 รัชกาลที่ 10 โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นองคมนตรี โดยในพระบรมราชโองการแต่งตั้งไม่ปรากฏว่ามีผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ ทั้งๆ ที่ในรัฐธรรมนูญ 2560 มาตรา 11 กำหนดผู้ลงนามรับสนองฯ ไว้อย่างชัดเจน
“ผู้นำฝ่ายค้าน” บทบาทสำคัญ ตั้งไม่ได้ก็รอต่อไป
อ่าน

“ผู้นำฝ่ายค้าน” บทบาทสำคัญ ตั้งไม่ได้ก็รอต่อไป

“ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร” เป็นอีกหนึ่งตำแหน่งที่สำคัญในการปกครองระบบรัฐสภาที่จำเป็นต้องมีผู้นำในสภาเพื่อตรวจสอบรัฐบาล อย่างไรก็ตามความผิดเพี้ยนของรัฐธรรมนูญ 2560 ได้นำมาสู่ปัญหาใหม่ที่อาจทำให้รัฐสภาจากการเลือกตั้ง 2566 ขาดผู้นำฝ่ายค้านหรืออาจได้ผู้นำฝ่ายค้านที่อ่อนแอเพราะมีเสียงในสภาน้อยเกินไป
เลือกตั้ง’66 : ทะลุขึ้นอันดับสอง  “รอรัฐบาลใหม่” 66 วัน ก็ยังตั้งไม่ได้!
อ่าน

เลือกตั้ง’66 : ทะลุขึ้นอันดับสอง “รอรัฐบาลใหม่” 66 วัน ก็ยังตั้งไม่ได้!

ขณะที่ “ค่าเฉลี่ยวันรอรัฐบาล” อยู่ที่ 31 วันจากการเลือกตั้งของไทยทั้งหมด 27 ครั้ง ซึ่งการเลือกตั้ง 2566 ภายใต้รัฐธรรมนูญ 2560 ทะยานสู่อันดับสองของการเลือกตั้งที่ทำให้ประชาชนรอการมีรัฐบาลใหม่ยาวนานที่สุด
3 ความเป็นไปได้ถ้าเลือกนายกไม่ได้ ระวังได้ชื่อใหม่หรือคนนอกบัญชี
อ่าน

3 ความเป็นไปได้ถ้าเลือกนายกไม่ได้ ระวังได้ชื่อใหม่หรือคนนอกบัญชี

ความเป็นไปได้หนึ่งของการเลือกนายกรัฐมนตรีคือสมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) ที่มาจากการแต่งตั้งทั้ง 250 คน ขวางการจัดตั้งรัฐบาล โดยการงดออกเสียง เพื่อไม่ให้แคนดิเดตนายกรัฐมนตรีคนใดได้เสียงถึงกึ่งหนึ่งของรัฐสภา การโหวตนายกรัฐมนตรีนี้ถือเป็นไพ่ใบสำคัญของ ส.ว.
ระบบเลือกตั้งฝรั่งเศส : ประชาชนเลือกได้สองรอบ การันตีเสียงข้างมากเด็ดขาด
อ่าน

ระบบเลือกตั้งฝรั่งเศส : ประชาชนเลือกได้สองรอบ การันตีเสียงข้างมากเด็ดขาด

24 เมษายน 2565 ชาวฝรั่งเศสจะเดินเข้าคูหาเป็นครั้งที่สองในรอบสองสัปดาห์เพื่อเลือกคนที่จะมาเป็นประธานาธิบดีในอีกห้าปีข้างหน้า
สรุปความเคลื่อนไหวศึกแก้รัฐธรรมนูญไตรภาคตลอดปี 2564
อ่าน

สรุปความเคลื่อนไหวศึกแก้รัฐธรรมนูญไตรภาคตลอดปี 2564

จากการติดตามความเคลื่อนไหวของสภาโดยไอลอว์ ความพยายามแก้ไขรัฐธรรมนูญตลอดปี 2564 ยิ่งแสดงให้เห็นว่ากลไกการแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2560 ที่คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) วางไว้นั้น “ยากลำบาก” เพียงใด ในปีนี้ มีเพียงหนึ่งร่างที่สามารถผ่านด่านวุฒิสภาจนสามารถแก้ไขได้สำเร็จ ซึ่งก็คือการแก้ไขระบบเลือกตั้ง
ตามทันประเด็นร้อนผ่านข้อกฎหมาย ทำความเข้าใจ มาตรา 144 และปัญหาของ “งบกลาง”
อ่าน

ตามทันประเด็นร้อนผ่านข้อกฎหมาย ทำความเข้าใจ มาตรา 144 และปัญหาของ “งบกลาง”

จากข้อเถียงของกมธ. งบประมาณปี 65 ในประเด็นการนำงบที่ถูกตัดไปโปะ "งบกลาง" ชวนอ่านข้อเขียนจาก อานันท์ กระบวนศรี นักศึกษาปริญญาโท กฎหมายมหาชน  ประเทศฝรั่งเศส ที่เขียนอธิบายถึงขอบเขตการแปรญัตติตัดลดงบประมาณ ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 144 และการนำไปโปะงบรายการอื่น ปัญหาของ “งบกลาง” และความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นหากตัดลดงบประมาณและนำไปใส่ในงบกลาง
“ส่วนราชการในพระองค์” : คสช. สร้างหน่วยงานพิเศษที่ตรวจสอบไม่ได้ ทำลายระบอบประชาธิปไตยฯ
อ่าน

“ส่วนราชการในพระองค์” : คสช. สร้างหน่วยงานพิเศษที่ตรวจสอบไม่ได้ ทำลายระบอบประชาธิปไตยฯ

ทำความรู้จักกับ “ส่วนราชการในพระองค์” องค์กรที่ปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับพระมหากษัตริย์ ถือกำเนิดจากกฎหมายสามฉบับที่ออกในยุค คสช. ถึงแม้จะรับงบประมาณจากรัฐ แต่ไม่ใช่ส่วนราชการ ไม่ใช่หน่วยงานของรัฐ ระบบกฎหมายอื่นเข้าไปตรวจสอบไม่ได้
4 เงื่อนไขรัฐธรรมนูญสร้าง “นายกคนนอก”
อ่าน

4 เงื่อนไขรัฐธรรมนูญสร้าง “นายกคนนอก”

รัฐธรรมนูญไทยส่วนใหญ่มักไม่กำหนดที่มานายกฯ จึงเปิดโอกาสให้มีนายกฯ คนนอก ที่ไม่ผ่านความเห็นชอบของประชาชนจากการเลือกตั้ง หรือไม่ได้เป็น ส.ส. เข้ามาบริหารประเทศได้ ซึ่งที่ผ่านรัฐธรรมนูญไทยได้ออกแบบกติกาเปิดทางนายกฯ คนนอกด้วยวิธีการต่างๆ
“นายกฯ ต้องมาจากการเลือกตั้ง” ความฝันไล่เผด็จการของคนพฤษภาฯ 35
อ่าน

“นายกฯ ต้องมาจากการเลือกตั้ง” ความฝันไล่เผด็จการของคนพฤษภาฯ 35

หากมองย้อนไปในประวัติศาสตร์ ข้อเสนอให้นายกฯ ต้องมาจาก ส.ส. หรือการระบุ ให้นายกฯ มาจากการเลือกตั้ง เป็นการต่อสู้และการผลักดันของประชาชน ที่ต้องแลกมาด้วยความสูญเสียในเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ ปี 2535 ดังนั้น การที่รัฐธรรมนูญ ปี 2560 ปฏิเสธหลักการดังกล่าว และการที่บรรดา ส.ว.แต่งตั้ง ปัดตกข้อเสนอเพื่อยืนยันหลักการดังกล่าว จึงไม่ใช่แค่การหมุนทวนเข็มนาฬิกาให้ประเทศถอยหลัง แต่ยังเป็นการแสดงความไม่เคารพต่อความฝัน เลือดเนื้อ และชีวิตของวีรชนที่จากไป