แก้รัฐธรรมนูญ : สส. พรรคประชาชน เสนอลบล้างผลพวงคสช. – เพิ่มกลไกต่อต้าน ป้องกันรัฐประหาร
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ : สส. พรรคประชาชน เสนอลบล้างผลพวงคสช. – เพิ่มกลไกต่อต้าน ป้องกันรัฐประหาร

วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 สส. พรรคก้าวไกล เสนอร่างแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญสามฉบับต่อรัฐสภา ได้แก่ 1) ยกเลิก มาตรา 279 ลบล้างผลพวงรัฐประหาร 2557 2) ยกเลิกยุทธศาสตร์ชาติ-แผนปฏิรูปประเทศ 3) เพิ่มกลไกป้องกัน-ต่อต้านการรัฐประหาร ข้อเสนอของพรรคประชาชนจะผ่านการพิจารณาของรัฐสภาหรือไม่ ขึ้นอยู่กับเสียง สว. ชุดใหม่
สภาผ่านร่างแก้พ.ร.บ.ประชามติฯ ปลดล็อกเสียงข้างมากสองชั้น ใช้เสียงข้างมากธรรมดาแทน
อ่าน

สภาผ่านร่างแก้พ.ร.บ.ประชามติฯ ปลดล็อกเสียงข้างมากสองชั้น ใช้เสียงข้างมากธรรมดาแทน

21 สิงหาคม 2567 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร มีมติผ่านร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการออกเสียงประชามติ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ในวาระสาม ด้วยคะแนนเห็นชอบ 409 เสียง ไม่เห็นชอบ 0 เสียง งดออกเสียง 2 เสียง เพื่อปลดล็อก “เสียงข้างมากสองชั้น” ที่ใช้ชี้วัดว่าการทำประชามตินั้นจะมีข้อยุติหรือไม่ มาใช้เสียงเสียงข้างมากแทน
จับตา #ประชุมสภา พิจารณาร่างกฎหมายยกเลิกประกาศ-คำสั่ง คสช. และแก้พ.ร.บ.ประชามติฯ ต่อวาระสอง-สาม
อ่าน

จับตา #ประชุมสภา พิจารณาร่างกฎหมายยกเลิกประกาศ-คำสั่ง คสช. และแก้พ.ร.บ.ประชามติฯ ต่อวาระสอง-สาม

21 สิงหาคม 2567 สภาผู้แทนราษฎรมีวาระพิจารณาร่างกฎหมายยกเลิกประกาศ-คำสั่ง คสช. และพิจารณาร่างพ.ร.บ.ประชามติฯ ต่อในวาระสอง-สาม
สภาผู้แทนราษฎรมีมติเลือก แพทองธาร ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 31
อ่าน

สภาผู้แทนราษฎรมีมติเลือก แพทองธาร ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 31

16 สิงหาคม 2567 สภาผู้แทนราษฎร (สส.) มีมติเห็นชอบ “อุ๊งอิ๊ง” แพทองธาร ชินวัตร หัวหน้าพรรคเพื่อไทย เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 31 ของประเทศไทย แพทองธารถือเป็นแคนดิเดตนายกรัฐมนตรีคนเดียวที่ถูกเสนอชื่อในการประชุมครั้งนี้ ไม่มีพรรคใดเสนอแคนดิเดตแข่งด้วย
หลังเศรษฐา-ครม. พ้นตำแหน่ง สส. ต้องโหวตเลือกนายกฯ จากบัญชีพรรคการเมือง
อ่าน

หลังเศรษฐา-ครม. พ้นตำแหน่ง สส. ต้องโหวตเลือกนายกฯ จากบัญชีพรรคการเมือง

14 สิงหาคม 2567 ศาลรัฐธรรมนูญฟันเศรษฐา ทวีสิน พ้นตำแหน่งนายกฯ ครม. พ้นตำแหน่งตามทั้งคณะ ส่งผลให้ต้องมีการเลือกนายกฯ ใหม่และตั้ง ครม. ใหม่
สภาผู้แทนราษฎรรับหลักการร่างพ.ร.บ. ประชามติ ปลดล็อกเงื่อนไข “เสียงเกินกึ่งหนึ่งสองชั้น”
อ่าน

สภาผู้แทนราษฎรรับหลักการร่างพ.ร.บ. ประชามติ ปลดล็อกเงื่อนไข “เสียงเกินกึ่งหนึ่งสองชั้น”

18 มิถุนายน 2567 สภาผู้แทนราษฎรมีวาระพิจารณาร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการออกเสียงประชามติ “สี่ฉบับ” ซึ่งมีสาระสำคัญคือการแก้ไขพระราชบัญญัติว่าด้วยการออกเสียงประชามติ พ.ศ. 2564 (พ.ร.บ.ประชามติฯ) ในประเด็น “เสียงเกินกึ่งหนึ่งสองชั้น” (Double majority) ที่อาจเป็นเงื่อนไขในการทำประชามติ
จับตาประชุมสภา พิจารณาแก้พ.ร.บ.ประชามติฯ ปลดล็อกเงื่อนไข “เสียงเกินกึ่งหนึ่งสองชั้น” ให้ประชามติผ่านง่ายขึ้น
อ่าน

จับตาประชุมสภา พิจารณาแก้พ.ร.บ.ประชามติฯ ปลดล็อกเงื่อนไข “เสียงเกินกึ่งหนึ่งสองชั้น” ให้ประชามติผ่านง่ายขึ้น

18 มิถุนายน 2567 สภาผู้แทนราษฎรมีวาระพิจารณาร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการออกเสียงประชามติสี่ฉบับ ซึ่งมีสาระสำคัญคือการแก้ไขพระราชบัญญัติว่าด้วยการออกเสียงประชามติ พ.ศ. 2564 (พ.ร.บ.ประชามติฯ) ในประเด็น “เสียงเกินกึ่งหนึ่งสองชั้น” (Double majority) ที่อาจเป็นเงื่อนไขในการทำประชามติไม่ว่าจะเรื่องใด ๆ หาข้อยุติได้ยาก
ฝ่ายค้านเปิดเกมอภิปรายทั่วไปรัฐบาลเศรษฐาโดยไม่ลงมติ
อ่าน

ฝ่ายค้านเปิดเกมอภิปรายทั่วไปรัฐบาลเศรษฐาโดยไม่ลงมติ

3 เมษายน 2567 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรมีวาระสำคัญ ช่วงโค้งสุดท้ายก่อนปิดสมัยประชุมรัฐสภาในวันที่ 10 เมษายน 2567 โดยมีวาระอภิปรายทั่วไปเพื่อซักถามข้อเท็จจริงหรือเสนอแนะปัญหาต่อคณะรัฐมนตรีนำโดยเศรษฐา ทวีสิน โดยไม่มีการลงมติ ตามรัฐธรรมนูญ 2560 มาตรา 152 ซึ่งมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (สส.) พรรคฝ่ายค้าน อันได้แก่พรรคก้าวไกล พรรคประชาธิปัตย์ และพรรคไทยสร้างไทย เสนอญัตตินี้เข้าสภาร
สว. ชุดพิเศษ เห็นชอบรับร่างกฎหมาย #สมรสเท่าเทียม วาระหนึ่ง เหลือพิจารณาต่อวาระสอง-สาม
อ่าน

สว. ชุดพิเศษ เห็นชอบรับร่างกฎหมาย #สมรสเท่าเทียม วาระหนึ่ง เหลือพิจารณาต่อวาระสอง-สาม

2 เมษายน 2567 วุฒิสภาชุดพิเศษ “เห็นชอบ” ร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียม ในวาระแรก หลังจากร่างผ่านสภาผู้แทนราษฎร กระบวนการถัดมาเหลือการพิจารณาวาระสอง-สาม ชั้นวุฒิสภา
จับตาประชุมวุฒิสภา! ลุ้น สว. ชุดพิเศษ โหวตผ่าน #สมรสเท่าเทียม ก่อนหมดวาระ
อ่าน

จับตาประชุมวุฒิสภา! ลุ้น สว. ชุดพิเศษ โหวตผ่าน #สมรสเท่าเทียม ก่อนหมดวาระ

2 เมษายน 2567 วุฒิสภามีวาระพิจารณาร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียม ในวาระหนึ่ง โดยเป็นการพิจารณาร่างที่ผ่านความเห็นชอบจากชั้นสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว