สว. มีมติตีกลับ ร่าง พ.ร.บ. ประชามติ คว่ำเสียงข้างธรรมดา พลิกใช้เสียงข้างมากสองชั้นแก้รัฐธรรมนูญ
อ่าน

สว. มีมติตีกลับ ร่าง พ.ร.บ. ประชามติ คว่ำเสียงข้างธรรมดา พลิกใช้เสียงข้างมากสองชั้นแก้รัฐธรรมนูญ

30 กันยายน 2567 ที่ประชุม สว. มีมติเห็นชอบร่างแก้ไขเพิ่มเติม พ.ร.บ. ประชามติ ตามที่กรรมาธิการเสนอแก้ไข ด้วยคะแนนเห็นชอบ 167 เสียง ไม่เห็นชอบ 19 เสียง และงดออกเสียง 7 เสียง โดยเปลี่ยนเกณฑ์เสียงข้างมากธรรมดาที่สภาผู้แทนราษฎรให้ความเห็นชอบให้คงไว้ซึ่งเสียงข้างมากสองชั้นในการทำประชามติเพื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญ
แก้รัฐธรรมนูญ : สส. พรรคประชาชน เสนอลบล้างผลพวงคสช. – เพิ่มกลไกต่อต้าน ป้องกันรัฐประหาร
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ : สส. พรรคประชาชน เสนอลบล้างผลพวงคสช. – เพิ่มกลไกต่อต้าน ป้องกันรัฐประหาร

วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 สส. พรรคก้าวไกล เสนอร่างแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญสามฉบับต่อรัฐสภา ได้แก่ 1) ยกเลิก มาตรา 279 ลบล้างผลพวงรัฐประหาร 2557 2) ยกเลิกยุทธศาสตร์ชาติ-แผนปฏิรูปประเทศ 3) เพิ่มกลไกป้องกัน-ต่อต้านการรัฐประหาร ข้อเสนอของพรรคประชาชนจะผ่านการพิจารณาของรัฐสภาหรือไม่ ขึ้นอยู่กับเสียง สว. ชุดใหม่
3 คูหา – 2 ประชามติ – 1 เลือกตั้ง : เส้นทางร่างรัฐธรรมนูญประชาชนที่เร็วที่สุด
อ่าน

3 คูหา – 2 ประชามติ – 1 เลือกตั้ง : เส้นทางร่างรัฐธรรมนูญประชาชนที่เร็วที่สุด

หนึ่งปีผ่านมา รัฐบาลเพื่อไทยยังไม่ได้เริ่มต้นจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ เพื่อเดินหน้าสู่รัฐธรรมนูญฉบับประชาชนโดยเร็วที่สุด รัฐบาลอาจจะพิจารณาทำประชามติเพียง 2 ครั้ง
สภาผ่านร่างแก้พ.ร.บ.ประชามติฯ ปลดล็อกเสียงข้างมากสองชั้น ใช้เสียงข้างมากธรรมดาแทน
อ่าน

สภาผ่านร่างแก้พ.ร.บ.ประชามติฯ ปลดล็อกเสียงข้างมากสองชั้น ใช้เสียงข้างมากธรรมดาแทน

21 สิงหาคม 2567 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร มีมติผ่านร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการออกเสียงประชามติ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ในวาระสาม ด้วยคะแนนเห็นชอบ 409 เสียง ไม่เห็นชอบ 0 เสียง งดออกเสียง 2 เสียง เพื่อปลดล็อก “เสียงข้างมากสองชั้น” ที่ใช้ชี้วัดว่าการทำประชามตินั้นจะมีข้อยุติหรือไม่ มาใช้เสียงเสียงข้างมากแทน
บทสรุปสว.67 : ระบบ “แบ่งกลุ่ม”-“เลือกกันเอง” สร้างความสับสน ผู้ชนะเกาะกลุ่มกินรวบ
อ่าน

บทสรุปสว.67 : ระบบ “แบ่งกลุ่ม”-“เลือกกันเอง” สร้างความสับสน ผู้ชนะเกาะกลุ่มกินรวบ

ความซับซ้อนและขาดการมีส่วนร่วมส่งผลให้ที่มาของสว. แบบแบ่งกลุ่มและเลือกกันเองขาดความเป็นตัวแทนและความรับผิดชอบต่อประชาชน ให้ผลตรงข้ามกับที่ผู้ออกแบบระบบวาดฝันจะป้องกันอิทธิพลนักการเมือง
จับตา #ประชุมสภา พิจารณาร่างกฎหมายยกเลิกประกาศ-คำสั่ง คสช. และแก้พ.ร.บ.ประชามติฯ ต่อวาระสอง-สาม
อ่าน

จับตา #ประชุมสภา พิจารณาร่างกฎหมายยกเลิกประกาศ-คำสั่ง คสช. และแก้พ.ร.บ.ประชามติฯ ต่อวาระสอง-สาม

21 สิงหาคม 2567 สภาผู้แทนราษฎรมีวาระพิจารณาร่างกฎหมายยกเลิกประกาศ-คำสั่ง คสช. และพิจารณาร่างพ.ร.บ.ประชามติฯ ต่อในวาระสอง-สาม
สภาผู้แทนราษฎรมีมติเลือก แพทองธาร ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 31
อ่าน

สภาผู้แทนราษฎรมีมติเลือก แพทองธาร ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 31

16 สิงหาคม 2567 สภาผู้แทนราษฎร (สส.) มีมติเห็นชอบ “อุ๊งอิ๊ง” แพทองธาร ชินวัตร หัวหน้าพรรคเพื่อไทย เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 31 ของประเทศไทย แพทองธารถือเป็นแคนดิเดตนายกรัฐมนตรีคนเดียวที่ถูกเสนอชื่อในการประชุมครั้งนี้ ไม่มีพรรคใดเสนอแคนดิเดตแข่งด้วย
ขั้นตอนเลือกนายกฯ คนใหม่ หลังศาลรัฐธรรมนูญฟันเศรษฐาพ้นตำแหน่ง
อ่าน

ขั้นตอนเลือกนายกฯ คนใหม่ หลังศาลรัฐธรรมนูญฟันเศรษฐาพ้นตำแหน่ง

แม้การเลือกนายกรัฐมนตรีหลังจากการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อปี 2562 และ 2566 จะมีสมาชิกวุฒิสภา (สว.) ชุดพิเศษมาร่วมโหวตเลือกนายกรัฐมนตรีด้วย แต่หลังจากพ้นระยะเวลาห้าปีที่มีรัฐสภาชุดแรก ตามรัฐธรรมนูญ 2560 มาตรา 272 แล้ว กลไกการเลือกนายกรัฐมนตรีจะกลับมาใช้ขั้นตอนปกติตามรัฐธรรมนูญ 2560 คือ เลือกนายกรัฐมนตรีโดยสภาผู้แทนราษฎร (สส.) เท่านั้น 
หลังเศรษฐา-ครม. พ้นตำแหน่ง สส. ต้องโหวตเลือกนายกฯ จากบัญชีพรรคการเมือง
อ่าน

หลังเศรษฐา-ครม. พ้นตำแหน่ง สส. ต้องโหวตเลือกนายกฯ จากบัญชีพรรคการเมือง

14 สิงหาคม 2567 ศาลรัฐธรรมนูญฟันเศรษฐา ทวีสิน พ้นตำแหน่งนายกฯ ครม. พ้นตำแหน่งตามทั้งคณะ ส่งผลให้ต้องมีการเลือกนายกฯ ใหม่และตั้ง ครม. ใหม่
ย้อนดู ชะตากรรม 5 นายกฯ ในมือศาลรัฐธรรมนูญ ใครรอด/ไม่รอด
อ่าน

ย้อนดู ชะตากรรม 5 นายกฯ ในมือศาลรัฐธรรมนูญ ใครรอด/ไม่รอด

14 สิงหาคม 2567 การตัดสินอนาคตทางการเมืองของเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี โดยศาลรัฐธรรมนูญ ไม่ใช่ครั้งแรกที่นายกฯ ไทยต้องเผชิญหน้ากับองค์กรที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง แต่มีบทบาทสูงในการชี้ทิศทางการเมืองไทย นับตั้งแต่รัฐธรรมนูญ 2540 2550 และ 2560 มีนายกฯ ห้าคนที่ต้องเข้าสู่การพิจารณาคุณสมบัติโดยศาลรัฐธรรมนูญ