รู้จักมาตรา 133 134 หมิ่นประมุขรัฐหรือทูตต่างชาติอาจผิดกฎหมาย
อ่าน

รู้จักมาตรา 133 134 หมิ่นประมุขรัฐหรือทูตต่างชาติอาจผิดกฎหมาย

รู้หรือไม่ การแสดงความเห็นวิพากษ์วิจารณ์ประมุขของรัฐหรือทูตต่างประเทศก็สามารถทำให้ติดคุกหรือถูกปรับได้ โดยมีฐานความผิดเดียวกับประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 หรือกฎหมายหมิ่นประมาทที่ใช้กับกษัตริย์ไทย ประมวลกฎหมายอาญาไทยมีบทบัญญัติให้การคุ้มครองประมุขของรัฐต่างประเทศ ซึ่งรวมถึง ราชาธิบดี ราชินี ราชสามี รัชทายาท (มาตรา 133) และผู้แทนรัฐต่างประเทศซึ่งได้รับแต่งตั้งให้มาสู่พระราชสำนัก (มาตรา 134) จากการหมิ่นประมาท ดูหมิ่น หรือแสดงความอาฆาตมาดร้าย โดยความผิดต่อประมุขต่างประเทศนั้นต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงเจ็ดปี
ทำงานเกือบ 5 ปี! กมธ.พิทักษ์สถาบันฯ เปิดงานชิ้นใหญ่ รายงาน 398 หน้า เรื่องคุณูปการสถาบันฯ
อ่าน

ทำงานเกือบ 5 ปี! กมธ.พิทักษ์สถาบันฯ เปิดงานชิ้นใหญ่ รายงาน 398 หน้า เรื่องคุณูปการสถาบันฯ

กมธ. พิทักษ์สถาบันฯ ออกผลงานชิ้นใหญ่ เป็นรายงานความยาว 398 หน้า เรื่อง คุณูปการของสถาบันพระมหากษัตริย์ต่อการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขและฝ่ายนิติบัญญัติ
นัดฟังคำพิพากษาคดีมาตรา 112 เดือนมกราคม 2567
อ่าน

นัดฟังคำพิพากษาคดีมาตรา 112 เดือนมกราคม 2567

เดือนมกราคม 2567 ศาลมีนัดฟังคำพิพากษาศาลชั้นต้น 4 คดี ศาลอุทธรณ์ 5 คดี และนัดพร้อมเพื่อฟังคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ ซึ่งอาจอ่านคำพิพากษาในวันเดียวกันได้ 1 คดี ดังนี้ •
องคมนตรี รัฐประหาร กับบทบาทใหม่ของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา
อ่าน

องคมนตรี รัฐประหาร กับบทบาทใหม่ของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา

วันที่ 29 พฤศจิกายน 2566 ราชกิจจานุเบกษา ได้ประกาศพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งพลเอกประยุทธ์เป็นองคมนตรี ทำให้ชื่อของพลเอกประยุทธ์กลับมาเป็นที่กล่าวถึงอีกครั้งในบทบาทใหม่ที่ทำงานใกล้ชิดกับพระมหากษัตริย์มากยิ่งขึ้น
อนาคตของประยุทธ์หลังคำตัดสินศาลรัฐธรรมนูญ “แคนดิเดตนายกฯ หรือองคมนตรี ???”
อ่าน

อนาคตของประยุทธ์หลังคำตัดสินศาลรัฐธรรมนูญ “แคนดิเดตนายกฯ หรือองคมนตรี ???”

วาระที่เหลือของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ที่เริ่มจากปี 2560 ทำให้อนาคตทางการเมืองของพลเอกประยุทธ์เหลือสั้นลงประมาณ 2 ปี 6 เดือน เท่านั้น ซึ่งอาจส่งผลต่อการตัดสินใจทางการเมืองในการเลือกตั้งปี 2566 ว่าพลเอกประยุทธ์ยังอยากจะเป็นแคนดิเดตนายกฯ ต่อไปหรือไม่ หรือจะยุติบทบาททางการเมืองแล้วเบนเข็มสู่เส้นทางใหม่ เป็นองคมนตรี
#งบประมาณปี65 สรุปประเด็นและข้อเสนอตัดลดงบประมาณเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์
อ่าน

#งบประมาณปี65 สรุปประเด็นและข้อเสนอตัดลดงบประมาณเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์

18 – 21 สิงหาคม 2564 สภาผู้แทนราษฎรมีนัดพิจารณาร่างพ.ร.บ.งบประมาณ ปี 2565 วาระสอง ส.ส. บางส่วนอภิปรายงบประมาณเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์ และส.ส. บางรายเสนอให้ปรับลดงบประมาณของ “ส่วนราชการในพระองค์” อันเป็นองค์กรที่เกี่ยวข้องกับสถาบันพระมหากษัตริย์โดยตรง  
รู้จัก “ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์” ผ่านกฎหมายจัดตั้งที่เขียนในยุค คสช.
อ่าน

รู้จัก “ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์” ผ่านกฎหมายจัดตั้งที่เขียนในยุค คสช.

ในยุคสภาแต่งตั้ง สนช. ได้ออกพ.ร.บ.เพื่อจัดตั้งราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ขึ้นในปี 2559 และแก้ไขโครงสร้างตำแหน่งสำคัญในปี 2560 ด้วยเสียงเอกฉันท์ทั้งสองรอบ โดยให้เป็นองค์การมหาชน ไม่ใช่ส่วนราชการ มีระบบบริหารงานอิสระ ได้รับงบประมาณจากรัฐ ก่อนจะออกประกาศให้มีบทบาทจัดการวัคซีนโควิดในปี 2564
จาก 40 ถึง 60 เปรียบเทียบบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ หมวดพระมหากษัตริย์
อ่าน

จาก 40 ถึง 60 เปรียบเทียบบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ หมวดพระมหากษัตริย์

เมื่อย้อนดู หมวด 2 พระมหากษัตริย์ที่กำลังกลายเป็นประเด็นต้องห้ามแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2560 ก็ได้กำหนดแตกต่างจากอดีต เรียกได้ว่าการแก้ไขหมวด 2 มีมาอย่างต่อเนื่องก่อนหน้านี้ และมีลักษณะเป็นการขยายพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ให้เพิ่มมากขึ้นกว่าในอดีต
หลักพระมหากษัตริย์ทรงกระทำผิดมิได้ (The King Can Do No Wrong) ตามรัฐธรรมนูญ 20 ฉบับ
อ่าน

หลักพระมหากษัตริย์ทรงกระทำผิดมิได้ (The King Can Do No Wrong) ตามรัฐธรรมนูญ 20 ฉบับ

หลักพระมหากษัตริย์ทรงกระทำผิดมิได้ ไม่ได้ห้ามมิให้บุคคลฟ้องพระมหากษัตริย์ ดังที่ปรากฏใน "มาตรา 6" รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเพียงอย่างเดียว แต่มีหลักการอื่นที่กำกับควบคุมพระราชอำนาจประกอบกันด้วย คือ หลักการที่ว่า กษัตริย์ไม่มีพระราชอำนาจกระทำสิ่งต่างๆ ด้วยตัวเอง ต้องมีผู้ลงนามรับสนอง