นโยบาย “เสรีกัญชา” คืบหน้าไปแค่ไหน?
อ่าน

นโยบาย “เสรีกัญชา” คืบหน้าไปแค่ไหน?

ทุกวันที่ 20 เมษายนของทุกปีคือ “วันกัญชา” วันที่ผู้คนจะใช้วันออกมาเคลื่อนไหวเพื่อปลดแอกกัญชาออกจากข้อครหาเดิมๆ
ไล่เรียงกฎหมายเกี่ยวกับ ‘บุหรี่ไฟฟ้า’ สำหรับคน(แอบ)สูบ
อ่าน

ไล่เรียงกฎหมายเกี่ยวกับ ‘บุหรี่ไฟฟ้า’ สำหรับคน(แอบ)สูบ

รัฐบาล คสช. ประกาศให้บุหรี่ไฟฟ้าเป็น “สินค้าต้องห้าม” ในการนำเข้า ตามประกาศกระทรวงพาณิชย์ บุหรี่ไฟฟ้ามีแนวโน้มได้รับความนิยมมากขึ้นเรื่อยๆ
ร่าง พ.ร.บ.เอ็นพีโอ: เปิดทาง “สอดส่อง-สั่งปิด” องค์กรภาคประชาชน
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.เอ็นพีโอ: เปิดทาง “สอดส่อง-สั่งปิด” องค์กรภาคประชาชน

“กฎหมายเอ็นจีโอ” หรือ กฎหมายควบคุมการรวมกลุ่ม สาระสำคัญ คือ การวางมาตรการให้องค์กรภาคประชาชน ต้องเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับองค์กรและที่มาเงินทุน
ย้อนดูกฎหมายนิรโทษกรรมของไทย 23 ฉบับ เว้นโทษให้คณะรัฐประหารไปแล้วถึง 11 ครั้ง
อ่าน

ย้อนดูกฎหมายนิรโทษกรรมของไทย 23 ฉบับ เว้นโทษให้คณะรัฐประหารไปแล้วถึง 11 ครั้ง

ประเทศไทย เคยออกกฎหมายเพื่อนิรโทษกรรมเหตุการณ์ทางการเมืองอย่างน้อย 23 ครั้ง ในจำนวนนั้น 11 ครั้งเป็นการนิรโทษกรรมแก่บรรดาคณะรัฐประหารที่เข้ามายึดอำนาจ ชวนย้อนดูประวัติศาสตร์การนิรโทษกรรมของประเทศไทยว่าตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ถูกนำไปใช้ในเรื่องใดบ้าง
ประกาศ DES มอบภาระให้ภาคธุรกิจเก็บข้อมูลผู้ใช้เน็ต ให้รัฐมีหลักฐานหาตัวผู้กระทำความผิด
อ่าน

ประกาศ DES มอบภาระให้ภาคธุรกิจเก็บข้อมูลผู้ใช้เน็ต ให้รัฐมีหลักฐานหาตัวผู้กระทำความผิด

ประกาศ DES มีผลใช้บังคับตั้งแต่ 14 สิงหาคม 2564 เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกำหนดมาตรฐานการเก็บรักษาข้อมูลและส่งเสริมธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ให้มีความน่าเชื่อถือ และเก็บข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ใช้รวบรวมพยานหลักฐานอิเล็กทรอนิกส์เกี่ยวกับอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และความผิดฐานต่างๆ ที่เกิดขึ้นบนโลกออนไลน์ 
เปิดนิยาม-แยกองค์ประกอบ “ความผิดฐานนำเข้าข้อมูลเท็จ” ตาม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ
อ่าน

เปิดนิยาม-แยกองค์ประกอบ “ความผิดฐานนำเข้าข้อมูลเท็จ” ตาม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ

การออกมาวิพากษ์วิจารณ์การทำงานของรัฐบาลในช่วงวิกฤติจะถือเป็นเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นที่ประชาชนพึงมีตามรัฐธรรมนูญก็ตาม แต่รัฐบาลก็มีความพยายามในการตีความเอาผิดการแสดงออกดังกล่าวด้วยเช่นกัน ซึ่งหนึ่งในกฎหมายที่ถูกนำมากล่าวอ้างเพื่อจำกัดเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นก็คือ “พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดทางคอมพิวเตอร์
จับตาแก้กฎหมายให้ “ผู้ช่วยรัฐมนตรี” เป็นข้าราชการการเมือง-รับค่าตอบแทนห้าหมื่นบาท
อ่าน

จับตาแก้กฎหมายให้ “ผู้ช่วยรัฐมนตรี” เป็นข้าราชการการเมือง-รับค่าตอบแทนห้าหมื่นบาท

1-31 กรกฎาคม 2564 สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีได้เปิดรับฟังความคิดเห็นประชาชนต่อร่างกฎหมายสำคัญสองฉบับ คือ ร่างพระราชบัญญัติเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่ง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. และร่างพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการการเมือง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. โดยสาระสำคัญ คือ การเพิ่มตำแหน่ง “ผู้ช่วยรัฐมนตรี” ให้เป็นข้าราชการการเมืองตาม พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการการเมือง จากเดิมที่อยู่ภายใต้ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี และให้มีค่าตอบแทนเป็นเงินเดือน 40,000 บาท และค่าตำแหน่ง 10,000 บาท 
เปิดข้อกฎหมายว่าด้วย CAR-MOB
อ่าน

เปิดข้อกฎหมายว่าด้วย CAR-MOB

เปิดข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าจะเป็น พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ พ.ร.บ.จราจรทางบกฯ หรือ พ.ร.บ.ส่งเสริมสิ่งแวดล้อมฯ ก็พบว่า แค่การทำ CAR-MOB ไม่ได้เป็นความผิดตามกฎหมาย แต่ต้องมีการกระทำความผิดเป็นพิเศษ เช่น รวมกลุ่มที่ก่อให้เกิดการสัมผัสใกล้ชิดระหว่างบุคคล การใช้เสียงเกินค่ามาตรฐานที่กำหนด หรือ การขับรถโดยประมาทไม่คำนึงถึงความปลอดภัยหรือความเดือดร้อนของผู้อื่น
ขั้นตอน วิธีการสั่ง “บล็อคเว็บ” ตามพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ และช่องทางการคัดค้าน
อ่าน

ขั้นตอน วิธีการสั่ง “บล็อคเว็บ” ตามพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ และช่องทางการคัดค้าน

เมื่อรัฐต้องการจะ “บล็อคเว็บ” หรือระงับการเผยแพร่ข้อมูลบนสื่อออนไลน์ต่างๆ ต้องอาศัยอำนาจและขั้นตอนตามกฎหมายที่ให้สามารถทำได้ ซึ่งกฎหมายหลักที่ใช้ในสถานการณ์ทั่วไป คือ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ
ร่าง พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารฯ ฉบับใหม่: ใบอนุญาตปกปิดข้อมูลข่าวสารสาธารณะ
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารฯ ฉบับใหม่: ใบอนุญาตปกปิดข้อมูลข่าวสารสาธารณะ

ครม. เห็นชอบร่างพ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารฯ ฉบับใหม่ ซึ่งจะทำให้หลักการรจากเดิมที่ให้เปิดเผยเป็นหลัก ไม่เปิดเผยเป็นข้อยกเว้น กลายเป็นปกปิดเป็นหลัก เปิดเผยเป็นข้อยกเว้น เช่น การกำหนดข้อยกเว้น ห้ามเปิดเผย ข้อมูลข่าวสารของราชการที่หากเปิดเผยแล้วอาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ และข้อมูลข่าวสารด้านความมั่นคงของรัฐในหลายๆ ด้าน