รัฐบาล คสช.กำลังลักไก่นำประเทศไทยไปผูกพันกับความตกลง CPTPP
อ่าน

รัฐบาล คสช.กำลังลักไก่นำประเทศไทยไปผูกพันกับความตกลง CPTPP

สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ รองนายกรัฐมนตรี ระบุว่า การขอเข้าเป็นสมาชิก CPTPP ของทำให้ประเทศไทยอยู่ในความสนใจของนักลงทุน ขณะที่ เอฟทีเอ ว็อทช์ ชี้ รัฐบาล คสช.  เตรียมลักไก่ ทั้งที่จะเลือกตั้งแล้ว ควรรอรัฐบาลชุดหน้าที่มีความชอบธรรม   
ภาคการเกษตรไทยในเงา คสช.
อ่าน

ภาคการเกษตรไทยในเงา คสช.

หลังจากการยึดอำนาจของ คสช. เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2557 ภาคการเกษตรไทยก็เป็นหนึ่งในเป้าสายตาของผู้ที่สนใจด้านการเมืองและนโยบายสาธารณะ เพราะก่อนหน้านั้นรัฐบาลยิ่งลักษณ์มักถูกวิพากษ์วิจารณ์ว่า ดำเนินนโยบายการเกษตรแบบประชานิยม ทำให้ราคาสินค้าเกษตรสูงเกินจริง (โดยเฉพาะราคาข้าว) ผู้คนจึงสนใจว่า คสช. จะดำเนินนโยบายเกษตร และนำพาภาคการเกษตรไปสู่จุดใดคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นักวิชาการชี้ ‘ปฏิรูประบบราชการ-กระจายอำนาจ’ ยกระดับคุณภาพชีวิตได้
อ่าน

นักวิชาการชี้ ‘ปฏิรูประบบราชการ-กระจายอำนาจ’ ยกระดับคุณภาพชีวิตได้

เสวนา Thammasat Resolution Talk: ตั้งโจทย์-ตอบอนาคต วาระการเปลี่ยนแปลงประเทศไทยหลังการเลือกตั้ง ครั้งที่ 2 ในหัวข้อ “การกระจายอำนาจและปฏิรูประบบราชการ” พูดคุยถึงปัญหา อุปสรรค ความล้มเหลวและความหวังของการกระจายอำนาจและการปฏิรูประบบราชการไทย นักวิชาการชี้ว่าปัญหาทั้งสองเป็นเรื่องเดียวกัน และการกระจายอำนาจยังเกี่ยวพันกับเรื่องเศรษฐกิจและคุณภาพชีวิตของผู้คน  
ร่าง พ.ร.บ.มั่นคงไซเบอร์ฯ ร่างมาแล้ว 3 ฉบับ ให้อำนาจรัฐสอดส่องประชาชนทุกฉบับ
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.มั่นคงไซเบอร์ฯ ร่างมาแล้ว 3 ฉบับ ให้อำนาจรัฐสอดส่องประชาชนทุกฉบับ

11 ตุลาคม 2561  'ร่าง พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ พ.ศ. …' กลับมาอีกครั้ง โดยเนื้อหาของ ร่าง พ.ร.บ.มั่นคงไซเบอร์ฯ ฉบับใหม่ ยังให้อำนาจรัฐเข้าถึงข้อมูลของประชาชนได้ เพียงแค่มีเหตุอันควรสงสัยว่าคนนั้นเกี่ยวข้องกับภัยคุกคามไซเบอร์ และเพื่อลดความเสี่ยงจากภัยคุกคามไซเบอร์ ยังให้อำนาจเจ้าหน้าที่บุกตรวจค้นและยึดคอมพิวเตอร์ได้ทันที โดยไม่ต้องมีหมายศาลเหมือนเดิม
วงเสวนา ชำแหละ ร่าง พ.ร.บ.มั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ฯ ชี้สุ่มเสี่ยงละเมิดสิทธิประชาชนพร้อมเรียกร้องให้ปรับแก้
อ่าน

วงเสวนา ชำแหละ ร่าง พ.ร.บ.มั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ฯ ชี้สุ่มเสี่ยงละเมิดสิทธิประชาชนพร้อมเรียกร้องให้ปรับแก้

26 ตุลาคม 2561 ที่สมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย มีการจัดกิจกรรมราชดำเนินเสวนาในหัวข้อ “อันตรายกฎหมายไซเบอร์…?” โดยวงดังกล่าวประกอบไปด้วยนักกฎหมาย นักวิชาการ และตัวแทนภาครัฐ ซึ่งมีประเด็นจากวงว่า กฎหมายมั่นคงไซเบอร์ฯ สุ่มเสี่ยงละเมิดสิทธิเสรีภาพประชาชนพร้อมเรียกร้องให้ปรับแก้
ร่างพ.ร.บ.เอกสิทธิ์และความคุ้มกันองค์การระหว่างประเทศฯ: องค์การระหว่างประเทศห้ามกระทบความมั่นคง และแทรกแซงกิจการภายใน
อ่าน

ร่างพ.ร.บ.เอกสิทธิ์และความคุ้มกันองค์การระหว่างประเทศฯ: องค์การระหว่างประเทศห้ามกระทบความมั่นคง และแทรกแซงกิจการภายใน

สนช. รับหลักการร่าง พ.ร.บ.เอกสิทธิ์และความคุ้มกันสำหรับองค์การระหว่างประเทศฯ ซึ่งจะกำหนดเอกสิทธิ์และความคุ้มกันอย่างเป็นทางการให้กับองค์การระหว่างประเทศที่จะมาตั้งสำนักงานในไทย และบุคลากรของหน่วยงานดังกล่าว รวมถึงการประชุม และผู้เข้าร่วมการประชุมประหว่างประเทศด้วย
อ่าน

โรดแมปสิทธิมนุษยชนไทยบนเส้นทางประชาธิปไตย

กสม. จัดงานเสวนาเรื่อง ;โรดแมป : สิทธิมนุษยชนบนเส้นทางประชาธิป โตยวิทยากรประกอบไปด้วยนักวิชาการด้านกฎหมาย นักการเมือง และประธาน กสม. โดยแต่ละคนกล่าวถึงประเด็นที่เกี่ยวกับสถานการณ์สิทธิมนุษยชนและประชาธิปไตยของประเทศไทยปัจจุบันในมุมต่างๆ และเห็นคล้ายกันว่ายังคงมีปัญหาอยู่มาก
อ่าน

ข้อดี – ข้อเสีย ไพรมารี่โหวต ของ คสช.

ระบบไพรมารี่โหวต ถูกกำหนดให้พรรคการเมืองทุกพรรคต้องดำเนินการก่อนจะส่งตัวแทนพรรคลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นว่าที่ ส.ส. พรรคการเมืองหลายพรรคทั้งเก่าและใหม่ต่างเห็นว่าระบบไพรมารี่โหวตจะเป็นอุปสรรคในการเลือกตั้งที่กำลังจะเกิดขึ้นข้างหน้า ซึ่งข้อดีและข้อเสียของระบบไพรมารี่โหวตแบบไทยๆ มีดังนี้