อ่าน

มติ สนช. คว่ำสรรหา กสทช. ยกชุด

ผลการประชุมลับเพื่อลงมติเลือก กรรมการ กสทช. ชุดใหม่ของ สนช. คือ ที่ประชุม สนช. ลงมติไม่เห็นชอบผู้สมัครกรรมการ กสทช. ทั้งหมด 14 คน การลงมติของ สนช. ครั้งนี้เท่ากับเป็นการคว่ำการคัดเลือกของ คณะกรรมการสรรหา กสทช. และจะต้องเริ่มกระบวนการสรรหาใหม่
เลือกตั้งช้าไป ใครสั่ง …
อ่าน

เลือกตั้งช้าไป ใครสั่ง …

สนช. เห็นชอบ ร่างพ.ร.ป.ว่าด้วยการเลือกตั้ง ส.ส. ตั้งแต่ 25 ม.ค.2561 ในทันที คสช.ก็สัญญาจะเลือกตั้ง ก.พ.2562 แต่อุปสรรคที่ทำให้ต้องเลื่อนการเลือกตั้งยังคงไม่จบ เพราะร่าง พ.ร.ป.ว่าด้วยการเลือกตั้ง ส.ส. เจอข้อท้วงติงจากผู้มีอำนาจถึงเนื้อหาว่า อาจขัดต่อรัฐธรรมนูญ ทำให้ร่างต้องถูกชะลอออกไปสองครั้ง และยังประกาศใช้ไม่ได้เสียที
อ่าน

กลัวกระทบผู้เสียภาษี! สนช. เลื่อนพิจารณา ร่าง พ.ร.บ.ภาษีที่ดินฯ มาแล้ว 6 ครั้ง

วันที่ 22 มีนาคม 2561 สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) มีมติเห็นชอบให้ขยายเวลาการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. … เป็นครั้งที่ 6 ออกไปอีก 60 วัน ทำให้กฎหมายดังกล่าวถูกเลื่อนการพิจารณาออกไปนานกว่า 1 ปีแล้ว
สามปี สนช. อนุมัติงบประมาณเพิ่มเติม เกือบสี่แสนล้านบาท วันเดียวเสร็จ
อ่าน

สามปี สนช. อนุมัติงบประมาณเพิ่มเติม เกือบสี่แสนล้านบาท วันเดียวเสร็จ

ในรอบสี่ปีของของรัฐบาล คสช. สนช. ได้เห็นชอบร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมประจำปีงบประมาณฯ รวมทั้งสิ้นสามฉบับ ซึ่งเป็นการอนุมัติงบประมาณเพิ่มเติมรวมเป็นเงินจำนวน 399,000,000,000 บาท โดยการพิจารณาทุกครั้งเป็นไปอย่างรวดเร็วภายในวันเดียว
อ่าน

เทคนิคใหม่ ‘ยื้อเลือกตั้ง’ ให้ศาลตีความกฎหมาย ส.ว.

แม้ คสช. จะพยายามหาเทคนิคใหม่ๆ มาเลื่อนเลือกตั้งไปแล้วถึง 4 ครั้ง ไล่ตั้งแต่ แก้รัฐธรรมนูญชั่วคราวฯ 2557, คว่ำร่างรัฐธรรมนูญฉบับบวรศักดิ์แล้วร่างใหม่, แก้รัฐธรรมนูญชั่วคราวตามที่พระมหากษัตริย์พระราชทานข้อสังเกต จนมาถึงขยายเวลาบังคับใช้กฎหมาย ส.ส. ออกไปอีก 90 วัน และล่าสุดดูเหมือน คสช. จะพบเทคนิคใหม่ โดยให้ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ หรือ สนช. ยื่นศาลรัฐธรรมนูญตีความร่างกฎหมายลูก ส.ว.
อ่าน

เลือกตั้งมีสิทธิ์เลื่อน ถ้า สนช. ยื่นศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย กฎหมาย ส.ว.

แม้ สนช. จะลงมติเห็นชอบร่าง พ.ร.ป.ว่าด้วยการได้มาซึ่งวุฒิสภา พ.ศ ไปแบบเอกฉันท์ แต่ทว่าการเลือกตั้งตามโรดแมปก็ยังไม่นิ่ง และมีเหตุให้ต้องเลื่อนหากสนช. ยื่นเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า กฎหมาย ส.ว. ทั้งฉบับขัดต่อรัฐธรรมนูญ รวมถึงหากศาลรัฐธรรมนูญมีคำวินิจฉัยให้กฎหมาย ส.ว. มีอันต้องตกไปทั้งฉบับ ก็มีแนวโน้มที่จะต้องร่างกฎหมาย ส.ว. กันใหม่อีกครั้ง
อ่าน

กมธ.ร่วมฯ พิจารณากฎหมายลูก ส.ส. คงกติกาห้ามจัดมหรสพ ผู้สมัครพรรคเดียวกันลงหลายเขตใช้คนละเบอร์

ประเด็นที่เป็นปัญหาใน ร่าง พ.ร.ป.ว่าด้วยที่มา ส.ส.ฯ คณะกรรมาธิการร่วมสามฝ่ายที่ประกอบไปด้วยตัวแทนจาก สนช. กรธ. และประธาน กกต. มีมติร่วมกัน ในประเด็นสำคัญ คือห้ามจัดมหรสพ ผู้สมัครพรรคเดียวกันลงหลายเขตใช้คนละเบอร์
อ่าน

กมธ.ร่วมฯ แก้ไขกฎหมายลูก ส.ว. เพิ่มบทเฉพาะกาล ส.ว. ชุดที่สองเลือกไม่เหมือนชุดอื่น

ร่าง พ.ร.ป.ว่าด้วยที่มา ส.ว.ฯ ยังไม่เป็นที่ถูกใจของผู้ที่เกี่ยวข้องเสียที นำไปสู่การตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญร่วมสามฝ่ายซึ่งประกอบไปด้วยประธาน กกต., กรธ. 5 คน และสนช. 5 คน และก็เคาะผลลัพธ์กันออกมา กลายเป็นมีสองระบบในบททั่วไปกับในบทเฉพาะกาล
อ่าน

เลือกตั้งเร็วสุด ก.ย. 61 ก็ยังได้ ถ้า คสช. ปลดล็อกพรรคการเมือง

การเลือกตั้งจากเดิมที่คาดว่าจะเกิดขึ้นอย่างช้าสุดในเดือนพฤศจิกายน 2561 อาจถูกเลื่อนออกไปอีก 90 วัน เป็นเดือนกุมภาพันธ์ ถึงเดือนมีนาคม 2562 อย่างไรก็ตามตามโรดแมป คสช. เอง ก็เลือกตั้งก็สามารถเกิดอย่างเร็วในเดือนกันยายน 2561 หรือปลายปี 2561 ช่วงไหนก็ได้ เพียงแค่คสช.ปลดล็อกพรรคการเมือง
ร่างกฎหมายลูก ส.ว. : สนช. แก้ลดโควต้าอาชีพผู้สมัคร ส.ว. เหลือแค่ 10 กลุุ่ม
อ่าน

ร่างกฎหมายลูก ส.ว. : สนช. แก้ลดโควต้าอาชีพผู้สมัคร ส.ว. เหลือแค่ 10 กลุุ่ม

จากหลักการเดิมที่กรธ. เป็นคนเสนอ ตาม พ.ร.ป.ว่าด้วยที่มา ส.ว กำหนดไว้ว่า ให้ส.ว. มาจากการคัดเลือกกันเอง ของผู้สมัคร ส.ว. จากโควต้ากลุ่มอาชีพ 20 กลุ่ม แต่ร่างกฎหมายที่ผ่านการพิจารณาของ สนช. เมื่อวันที่ 26 มกราคม 2561 มีการเปลี่ยนหลักการ โดยลดจำนวนโควต้ากลุ่มอาชีพลงจาก 20 กลุ่ม เหลือเพียง 10 กลุ่ม พร้อมทั้งเพิ่มช่องทางให้องค์กรนิติบุคคลสามารถเสนอชื่อ ผู้สมัคร ส.ว. ได้