กฎหมายคุ้มครองสิทธิ ทำไมต้องรีบผ่านในช่วงโค้งสุดท้ายของ สนช.
อ่าน

กฎหมายคุ้มครองสิทธิ ทำไมต้องรีบผ่านในช่วงโค้งสุดท้ายของ สนช.

ช่วงโค้งสุดท้าย ก่อนที่ สนช. จะหมดอายุไปภายหลังการเลือกตั้ง มีกฎหมายที่เป็นประโยชน์กับประชาชนถูกเสนอหรือเตรียมที่จะเสนอเข้าสู่การพิจารณาจำนวนไม่น้อย ตัวอย่างเช่น ร่างพ.ร.บ.คู่ชีวิต ร่างพ.ร.บ.ป้องกันการทรมานฯ วิเคราะห์เหตุจูงใจทางการเมืองทำไมถึงมากันเยอะในช่วงนี้
อภินิหารยุคทหาร แก้กฎหมายง่ายๆ สไตล์ คสช.
อ่าน

อภินิหารยุคทหาร แก้กฎหมายง่ายๆ สไตล์ คสช.

ในยุค คสช. กระบวนการออกกฎหมายที่ไร้การตรวจสอบ ส่งผลให้กฎหมายจำนวนหนึ่งผ่านไปแล้วต้องมีการกลับมาแก้ไขใหม่ โดยอาศัยอำนาจ ม. 44 ในการออกคำสั่งหัวหน้า คสช. หรือการส่งต่อให้ สนช. แก้ไขรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายต่างๆ ที่ผ่านมามีอย่างน้อย 6 ครั้งที่ คสช. และ สนช. พยายามแก้ไขกฎหมายที่ตัวเองออก 
เลือกตั้ง 62: การเลือกตั้งไร้อิสระ – เมื่อ กกต. ถูกยึดด้วยอำนาจ คสช.
อ่าน

เลือกตั้ง 62: การเลือกตั้งไร้อิสระ – เมื่อ กกต. ถูกยึดด้วยอำนาจ คสช.

กกต. ชุดที่ดูแลการเลือกตั้ง ในปี 2562 กว่าจะได้มาต้องผ่านกลไกต่างๆ ที่ คสช. วางไว้จนพอใจ โดยต้องผ่านความเห็นชอบจากสนช. ถึง 3 ครั้ง รายชื่อผู้สมัคร กกต. ชุดแรกถูก สนช. ตีตกยกชุด
อ่าน

สี่ปี สนช.: ผ่านกฎหมายแปดฉบับอนุมัติงบประมาณ 14 ล้านล้านบาท ให้ คสช.

สนช. เห็นชอบ พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจำปีฯ รวมแล้วสี่ฉบับ และร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจำปีฯ ฉบับที่ห้า กำลังอยู่ในระหว่างการพิจารณานอกจากนี้ สนช. ยังมีมติเห็นชอบ พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมประจำฯ รวมทั้งหมดสามฉบับด้วยกัน ตลอดสี่ปี สนช. ไฟเขียวงบประมาณให้ คสช. เป็นวงเงินทั้งสิ้น 14 ล้านล้านบาท โดยอนุมัติผ่านกฎหมายจำนวนแปดฉบับ
อ่าน

สี่ปี สนช.: เลือก 60 คนนั่ง 13 องค์กรตรวจสอบ ช่วย คสช. ยึดประเทศอย่างช้าๆ

สมาชิก สนช. มาจากการแต่งตั้งโดย คสช. ดังนั้นจึงเป็นตัวแทนของฝ่ายบริหารที่มาทำหน้าที่คัดเลือกคนเข้าไปอยู่ในองค์กรอิสระที่ควรจะต้องทำหน้าที่ตรวจสอบการใช้อำนาจของ คสช. สี่ปีที่ผ่านมา สนช. ได้ลงมติเห็นชอบเพื่อคัดเลือกคนที่ คสช. ไว้ใจเข้าไปดำรงตำแหน่งสำคัญๆ 60 ตำแหน่ง
อ่าน

สี่ปี สนช.: “เตะถ่วง” ไม่ผ่านยืดเวลากฎหมายกระทบนายทุนและตัวเอง

ลักษณะที่โดดเด่นของ สนช. คือเป็นเครื่องจักรผลิตกฎหมายจำนวนมากให้กับ คสช. ภายในระยะเวลาสี่ปีที่ผ่านมา สนช. เห็นชอบกฎหมายไปแล้วไม่ต่ำกว่า 298 ฉบับ จนเป็นผลงานที่ภาคภูมิใจของบรรดาสมาชิก สนช. และรัฐบาล คสช. ซึ่งตลอดระยะเวลาการทำงานของ สนช. ยังไม่พบว่ามีร่างกฎหมายฉบับใดที่จะถูกปัดตกไป
สี่ปี สนช.: “สภาตามสั่ง” ผ่านกฎหมายเพิ่มอำนาจ-ปูทาง คสช. อยู่ยาว
อ่าน

สี่ปี สนช.: “สภาตามสั่ง” ผ่านกฎหมายเพิ่มอำนาจ-ปูทาง คสช. อยู่ยาว

สนช. เป็นสภาที่มาจากการแต่งตั้งของ คสช. หน้าที่สำคัญคือ การออกกฎหมายให้กับรัฐบาล คสช. สี่ปีที่ผ่าน สนช. เห็นชอบกฎหมายไปแล้วอย่างน้อย 298 ฉบับ ซึ่งกฎหมายจำนวนหนึ่งมีเป้าหมายเพื่อช่วยให้ คสช. ใช้เป็นเครื่องมือในการรักษาอำนาจทางการเมือง
อ่าน

พ.ร.บ.โอนเงินงบประมาณ: สนช. ใช้อนุมัติเงินให้คสช. ไปแล้วกว่า 53,000 ล้านบาท

พ.ร.บ.โอนเงินงบประมาณ ถือว่าเป็นเครื่องมือทางการเงินอย่างหนึ่งที่รัฐบาลสามารถใช้ได้เพื่อการบริหารประเทศ ซึ่งกฎหมายฉบับนี้มีผลให้โอนเงินงบประมาณที่คงเหลือในปีงบประมาณนั้นๆ ไปตั้งไว้เป็นงบประมาณรายจ่ายของปีถัดไป ในช่วง 4 ปี ที่ผ่านมา สภานิติบัญญัติแห่งชาติ(สนช.) สภาที่มาจากการแต่งตั้งโดยคสช. ได้เห็นชอบ พ.ร.บ.โอนเงินงบประมาณ ถึง 4 ครั้งติดต่อกัน รวมแล้วเป็นวงเงินประมาณ 53,885 ล้านบาท
ร่างพ.ร.บ.เอกสิทธิ์และความคุ้มกันองค์การระหว่างประเทศฯ: องค์การระหว่างประเทศห้ามกระทบความมั่นคง และแทรกแซงกิจการภายใน
อ่าน

ร่างพ.ร.บ.เอกสิทธิ์และความคุ้มกันองค์การระหว่างประเทศฯ: องค์การระหว่างประเทศห้ามกระทบความมั่นคง และแทรกแซงกิจการภายใน

สนช. รับหลักการร่าง พ.ร.บ.เอกสิทธิ์และความคุ้มกันสำหรับองค์การระหว่างประเทศฯ ซึ่งจะกำหนดเอกสิทธิ์และความคุ้มกันอย่างเป็นทางการให้กับองค์การระหว่างประเทศที่จะมาตั้งสำนักงานในไทย และบุคลากรของหน่วยงานดังกล่าว รวมถึงการประชุม และผู้เข้าร่วมการประชุมประหว่างประเทศด้วย
อ่าน

สนช. แก้ พ.ร.บ.คณะสงฆ์ 2 ครั้ง เพิ่มพระราชอำนาจตั้งสมเด็จพระสังฆราช และกรรมการมหาเถรสมาคม

ในสมัยของ สนช. สภาแต่งตั้งจาก คสช. พ.ร.บ.คณะสงฆ์ ได้รับการแก้ไขถึงสองครั้ง และกระบวนการพิจารณาทั้งสองครั้งก็ใช้เวลาเห็นชอบเป็นกฎหมายภายในเวลาไม่กี่ชั่วโมง ในด้านเนื้อหาสาระการแก้ไขเพิ่มเติมสองครั้งมีสาระสำคัญคือการเพิ่มอำนาจของพระมหากษัตริย์ในการแต่งตั้งผู้บริหารคณะสงฆ์