คลัสเตอร์เรือนจำ : ความอลหม่านของการรายงานผู้ต้องขังติดเชื้อโควิด-19
อ่าน

คลัสเตอร์เรือนจำ : ความอลหม่านของการรายงานผู้ต้องขังติดเชื้อโควิด-19

นับจนถึงวันที่ 4 มิถุนายน 2564 มีผู้ต้องขังติดเชื้อในเรือนจำแล้วไม่น้อยกว่า 28,833 คน คิดเป็นร้อยละ 20.15 จากจำนวนผู้ติดเชื้อโควิด-19 ทั่วประเทศจำนวนทั้งหมด 143,116 คน ที่ผ่านมาการรายงานตัวเลขผู้ต้องขังติดเชื้อมีความไม่ขัดเจนในรายละเอียดเช่น จำนวนสะสมของศบค.และกรมราชทัณฑ์ที่ไม่ตรงกัน
ฉีดวัคซีน-ลดแออัด-หยุดเข้าไปเพิ่ม ข้อเรียกร้องเร่งด่วน ป้องกันโควิดในเรือนจำ
อ่าน

ฉีดวัคซีน-ลดแออัด-หยุดเข้าไปเพิ่ม ข้อเรียกร้องเร่งด่วน ป้องกันโควิดในเรือนจำ

สถานการณ์โควิดในเรือนจำไม่ใช่ความผิดของเจ้าหน้าที่ระดับปฏิบัติ แต่เป็นความยากลำบากภายใต้ความกดดันจากการแพร่ระบาดของโรค พร้อมกับภารกิจที่ต้องควบคุมตัวผู้ต้องขังให้มั่นคง ผู้บริหาร “ระดับนโยบาย” จะต้องเห็นคุณค่าของชีวิตคนที่อยู่ในเรือนจำ เราขอเสนอมาตรการเร่งด่วนให้ปฏิบัติในทันที 
FAQ : การป้องกันและการควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 ในเรือนจำ
อ่าน

FAQ : การป้องกันและการควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 ในเรือนจำ

การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในเรือนจำยังคงน่าเป็นห่วง องค์การอนามัยโลก เผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับการควบคุมโรคในเรือนจำที่น่าสนใจ โดนระบุด้วยว่า การปล่อยตัวบุคคลโดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่ถูกกักขังจากการกระทำผิดกฎหมายที่ไม่ได้รับการยอมรับภายใต้หลักกฎหมายสากล ควรได้รับความสำคัญเป็นลำดับแรก
โควิดระลอก 3 : ปล่อยผู้ต้องขังลดความแออัดของเรือนจำ
อ่าน

โควิดระลอก 3 : ปล่อยผู้ต้องขังลดความแออัดของเรือนจำ

ท่ามกลางสถานการณ์ที่ไวรัสโควิด-19 กำลังแพร่กระจายอย่างรวดเร็ว รัฐบาลบางประเทศได้ตัดสินใจปล่อยผู้ต้องขังในเรือนจำบางส่วนเพื่อลดความแออัดในพื้นที่อันเป็นเงื่อนไขสำคัญที่มีผลต่อการแพร่กระจายของไวรัส 
วัคซีนโควิด: มาตรการและข้อเสนอเพื่อลดผลกระทบในเรือนจำอังกฤษและอเมริกา
อ่าน

วัคซีนโควิด: มาตรการและข้อเสนอเพื่อลดผลกระทบในเรือนจำอังกฤษและอเมริกา

ดูเหมือนว่านักโทษที่อยู่ในเรือนจำไม่ได้ถูกให้ความสำคัญเป็นอันดับต้นๆ ทั้งที่เรือนจำถูกจัดให้เป็นพื้นที่เสี่ยงและอันตรายต่อการแพร่กระจายของโรคมากกว่าโลกภายนอก ทั้งนี้ก็มีบางประเทศเริ่มมีการเคลื่อนไหวอย่างอังกฤษและอเมริกาที่ให้ความสำคัญ โดยเฉพาะการฉีดวัคซีนให้กับผู้ต้องขัง
“เราช่วยรัฐ แล้วรัฐช่วยอะไร?” | ส่องข้อเรียกร้อง ‘ปัญหาปากท้อง’ จาก 6 กลุ่มผู้ได้รับผลกระทบจากมาตรการโควิด-19
อ่าน

“เราช่วยรัฐ แล้วรัฐช่วยอะไร?” | ส่องข้อเรียกร้อง ‘ปัญหาปากท้อง’ จาก 6 กลุ่มผู้ได้รับผลกระทบจากมาตรการโควิด-19

ตั้งแต่เดือนมกราคม 2564 เรื่อยมามีกลุ่มสาขาอาชีพต่างๆ ที่ได้รับผลกระทบจากมาตรการโควิด-19 ออกมาส่งเสียงเรียกร้องการเยียวยาแก้ปัญหาจากภาครัฐเป็นจำนวนมาก
กฎหมายชนเผ่าพื้นเมือง กับความหวัง “ชาติพันธุ์ก็คือคน”
อ่าน

กฎหมายชนเผ่าพื้นเมือง กับความหวัง “ชาติพันธุ์ก็คือคน”

เพื่อให้สิทธิของชนเผ่าพื้นเมืองที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ต่างๆในประเทศไทย ได้รับการส่งเสริม คุ้มครอง และปกป้อง 'สภาชนเผ่าพื้นเมือง'จึงได้ผลักดันให้เกิดร่างพ.ร.บ.สภาชนเผ่าพื้นเมืองแห่งประเทศไทย พ.ศ.… ขึ้นเพื่อทำหน้าที่เป็นอีกหนึ่งกลไกในการแก้ไขปัญหาให้สิทธิของชนเผ่าพื้นเมืองได้รับการรับรอง
“รัฐธรรมนูญใหม่ ที่มีรัฐสวัสดิการ เป็นหลักประกันคุณภาพชีวิตของประชาชน”
อ่าน

“รัฐธรรมนูญใหม่ ที่มีรัฐสวัสดิการ เป็นหลักประกันคุณภาพชีวิตของประชาชน”

เปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 พ.ศ.2550 และ พ.ศ.2560 สามด้าน คือ การศึกษา สุขภาพ และผู้สูงอายุ พบว่า ทั้งสามฉบับมีการกำหนดโครงสร้างด้าน “สวัสดิการ” ไว้บ้าง แต่ตั้งอยู่บนพื้นฐานแนวคิด “การสงเคราะห์ ช่วยเหลือ” มากกว่าที่จะกำหนดให้เป็นสิทธิของประชาชน
ภาคประชาชนหิ้วปิ่นโตเข้าสภา ยื่น “ริเริ่ม” เสนอร่างพ.ร.บ.บำนาญแห่งชาติ
อ่าน

ภาคประชาชนหิ้วปิ่นโตเข้าสภา ยื่น “ริเริ่ม” เสนอร่างพ.ร.บ.บำนาญแห่งชาติ

16 ตุลาคม 2562 ภาคประชาชนมาที่อาคารรัฐสภาเพื่อยื่นรายชื่อ “ผู้ริเริ่ม” และหลักการสำคัญ เพื่อเสนอร่างพ.ร.บ.บำนาญแห่งชาติ
ร่าง พ.ร.บ.บำนาญแห่งชาติ (ฉบับประชาชน): ผู้สูงอายุทุกคนต้องได้รับบำนาญถ้วนหน้า
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.บำนาญแห่งชาติ (ฉบับประชาชน): ผู้สูงอายุทุกคนต้องได้รับบำนาญถ้วนหน้า

ภาคประชาชนในนามเครือข่ายประชาชนเพื่อรัฐสวัสดิการ ผลักดันร่างกฎหมาย “พ.ร.บ.บำนาญแห่งชาติ” เพื่อยกระดับบำนาญให้ประชาชนทุกคนเมื่ออายุถึง 60 ปี