กองทัพไม่โปร่งใสเพราะกฎหมายไม่เอื้อให้ตรวจสอบ
อ่าน

กองทัพไม่โปร่งใสเพราะกฎหมายไม่เอื้อให้ตรวจสอบ

กองทัพไทยเป็นหน่วยงานที่ถูกตั้งแง่เรื่องความโปร่งใสมาโดยตลอด และผู้เปิดโปงการทุจริตภายในกองทัพต้องถูกลงโทษทางวินัยและให้ออกจากราชการ สะท้อนให้เห็นว่ากลไกและกฎหมายภายในกองทัพเป็นอุปสรรคสำคัญที่ทำให้กองทัพไทยเป็นหน่วยงานที่ขาดความโปร่งใส-ตรวจสอบไม่ได้
จับตาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญชุดใหม่พิจารณาคดีถอดถอน ร.อ.ธรรมนัส
อ่าน

จับตาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญชุดใหม่พิจารณาคดีถอดถอน ร.อ.ธรรมนัส

17 มิถุนายน 2563 ศาลรัฐธรรมนูญมีมติรับคำร้องขอให้วินิจฉัยสมาชิกภาพความเป็น ส.ส. และรัฐมนตรีของ ร.อ.ธรรมนัส พรหมเผ่า เนื่องจากขัดกับรัฐธรรมนูญที่ห้ามผู้เคยต้องคำพิพากษาถึงที่สุดในกฎหมายว่าด้วยยาเสพติดมาดำรงตำแหน่ง ส.ส.และรัฐมนตรี ทั้งนี้ถือว่าเป็นคดีเกี่ยวกับการตรวจสอบคุณสมบัตินักการเมืองคดีแรกของศาลรัฐธรรมนูญชุดใหม่ 4 คนที่เข้ารับตำแหน่งเมื่อ 1 เมษายน 2563  
จากคดี “ทนายสมชาย” ถึงอุ้มหายวันเฉลิม จะเอาผิดคนร้ายในไทยได้ต้องแก้กฎหมายก่อน
อ่าน

จากคดี “ทนายสมชาย” ถึงอุ้มหายวันเฉลิม จะเอาผิดคนร้ายในไทยได้ต้องแก้กฎหมายก่อน

ตัวอย่างจากคดีการหายตัวของทนายสมชาย ที่เอาผิดกับคนทำไม่ได้ ช่วยให้เราเรียนรู้ช่องโหว่ของกฎหมายสำหรับการอุ้มหายที่เกิดขึ้น 16 ปีให้หลัง กรณีของวันเฉลิมเหตุเกิดที่ต่างประเทศ แม้กฎหมายไทยเปิดช่องให้เอาผิดในไทยได้ แต่ปัญหาอยู่ที่ "ผู้เสียหาย" ที่จะเป็นคนริเริ่มคดี
กลไกร้องเรียนทุจริตที่บิดเบี้ยว สู่เส้นทางการปฏิรูปกองทัพ
อ่าน

กลไกร้องเรียนทุจริตที่บิดเบี้ยว สู่เส้นทางการปฏิรูปกองทัพ

5 มิถุนายน 2563 ได้มีการจัดแถลงข่าวกรณี “หมู่อาร์ม” ทหารที่เปิดโปงการทุจริตภายในกองทัพ และการเสวนาในหัวข้อ “เส้นทางการปฏิรูปกองทัพ” เพื่อนำไปสู่การจุดประเด็นการปฏิรูปกองทัพให้เข้ากับบริบททางสังคม
หกปีผ่านมา “คสช.1” ลาจอ แต่คดีต้านอำนาจ คสช. ยังต้องสู้ต่อ
อ่าน

หกปีผ่านมา “คสช.1” ลาจอ แต่คดีต้านอำนาจ คสช. ยังต้องสู้ต่อ

22 พฤษภาคม 2563 คร…
10 ปี พฤษภา 53: ศาลทหารและการเอาผิด “ผู้ปฏิบัติการ” ที่ไปไม่ถึงไหน
อ่าน

10 ปี พฤษภา 53: ศาลทหารและการเอาผิด “ผู้ปฏิบัติการ” ที่ไปไม่ถึงไหน

ตลอด 10 ปี การเอาผิด ‘ผู้ปฏิบัติการ’ ในเหตุการณ์สลายการชุมนุม พฤษภา 2553 ก็ไม่มีความคืบหน้า แม้ว่ามีหลักฐานคำให้การ ผลการชันสูตรและการไต่สวนการตายที่ระบุว่าผู้เสียชีวิตหลายรายเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่ของทหาร แต่ทว่าอัยการทหารก็มีความเห็นสั่งไม่ฟ้อง ทำให้เกิดคำถามสำคัญต่อกระบวนการยุติธรรมสำหรับทหาร หรือ "ศาลทหาร" ว่ามีความถูกต้องเที่ยงธรรมมากแค่ไหน
เปิด 14 ชื่อเข้ารอบลุ้น ‘ตุลาการศาลปกครองสูงสุด’ มีชื่อเลขาฯ ป.ป.ช. ด้วย
อ่าน

เปิด 14 ชื่อเข้ารอบลุ้น ‘ตุลาการศาลปกครองสูงสุด’ มีชื่อเลขาฯ ป.ป.ช. ด้วย

23 เมษายน 2563 เว็บไซต์ศาลปกครองเผยแพร่ประกาศ ก.ศป. เรื่อง รายชื่อผู้ผ่านการตรวจสอบคุณสมบัติเบื้องต้นในการคัดเลือกบุคคลเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งตุลาการศาลปกครองสูงสุด โดยมีผู้ผ่านการตรวจสอบคุณสมบัติเบื้องต้น และมีสิทธิเข้ารับการประเมินประสบการณ์ในการทำงาน หรือผลงานทางวิชาการทั้งหมด 14 คน พบว่ามีเลขาฯ ป.ป.ช. ผ่านการคัดเลือกด้วย
รัฐบาลไทยได้ละเลยการแก้ไขปัญหาสิทธิมนุษยชนตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ
อ่าน

รัฐบาลไทยได้ละเลยการแก้ไขปัญหาสิทธิมนุษยชนตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ

สหพันธ์สิทธิมนุษยชนสากล สมาคมสิทธิเสรีภาพของประชาชน และโครงการอินเทอร์เน็ตเพื่อกฎหมายประชาชน เสนอรายงานเงาฉบับที่ 2 ต่อคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ ชี้รัฐบาลไทยละเลยการปฏิบัติตามคำแนะนำ ทั้งในประเด็นรัฐธรรมนูญที่ยังคงรับรองความชอบด้วยกฎหมายของประกาศและคำสั่ง คสช. ประเด็นการฆ่านอกระบบ การซ้อมทรมาน และการบังคับสูญหายที่ไม่มีการนำตัวผู้กระทำผิดมาลงโทษอย่างจริงจัง รวมทั้งประเด็นสภาพความเป็นอยู่ในเรือนจำที่ไม่ได้มาตรฐานสากล
ที่ประชุมใหญ่ศาลปกครองสูงสุด เลือก บรรจงศักดิ์ วงปราชญ์ ส่งให้ ส.ว. ลงมติเป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ
อ่าน

ที่ประชุมใหญ่ศาลปกครองสูงสุด เลือก บรรจงศักดิ์ วงปราชญ์ ส่งให้ ส.ว. ลงมติเป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ

4 มีนาคม 2563 ที่ประชุมใหญ่ตุลาการศาลปกครองสูงสุด มีมติเลือก บรรจงศักดิ์ วงศ์ปราชญ์ ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด เพื่อส่งให้วุฒิสภาลงมติให้ดำรงตำแหน่งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ แทนที่ ชั่งทอง โอภาสศิริวิทย์ ผู้ได้รับคัดเลือกจากศาลปกครองสูงสุดคนก่อน ที่วุฒิสภามีมติไม่เห็นชอบให้ดำรงตำแหน่งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ