ส.ว. ขอยืดเวลาแก้ร่างพ.ร.บ. ป้องกันและปราบปรามการทรมานฯ อาจเสี่ยงผ่านไม่ทันสภาชุดนี้
อ่าน

ส.ว. ขอยืดเวลาแก้ร่างพ.ร.บ. ป้องกันและปราบปรามการทรมานฯ อาจเสี่ยงผ่านไม่ทันสภาชุดนี้

เส้นทางของประเทศไทยที่จะมีกฎหมายเพื่อป้องกันการซ้อมทรมานและการอุ้มหายเหลืออีกไม่ไกลแล้ว แต่ก่อนจะไปถึงจุดหมายที่หลายฝ่ายพยายามผลักดันมานาน ก็ยังต้องเจอกับ “วุฒิสภา” อันเป็นอีกหนึ่งด่านสำคัญที่รับไม้ต่อมาจากสภาผู้แทนราษฎร
สรุปเสวนา #ปล่อยนักโทษการเมือง: เมื่อสิทธิประกันตัวกลายเป็นแค่โฆษณาชวนเชื่อ
อ่าน

สรุปเสวนา #ปล่อยนักโทษการเมือง: เมื่อสิทธิประกันตัวกลายเป็นแค่โฆษณาชวนเชื่อ

19 พฤษภาคม 2565 กลุ่มคณะราษฎรยกเลิก 112 (ครย.112) จัดเสวนาในชื่อ #ปล่อยนักโทษการเมือง ส่งเสียงถึงศาล-ส่งสารถึงเพื่อน โดยมีการพูดคุยถึงสถานการณ์การคุมขังประชาชนที่ออกมาแสดงออกทางการเมืองในรูปแบบต่างๆ รวมถึงการไม่ให้ประกันตัวคนที่ออกมาเคลื่อนไหวหรือแสดงออกทางการเมืองว่า มีผู้ถูกคุมขังอยู่ระหว่างชั้นสอบสวนของตำรวจ อย่างน้อย 9 คน และมีผู้ต้องคำพิพากษาให้จำคุก อย่างน้อย 2 คน
หยุดลอยนวลพ้นผิด! สภาลงมติวาระสองและสาม ผ่านพ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามการทรมาน ส่งให้ส.ว.พิจารณาต่อ
อ่าน

หยุดลอยนวลพ้นผิด! สภาลงมติวาระสองและสาม ผ่านพ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามการทรมาน ส่งให้ส.ว.พิจารณาต่อ

23 กุมภาพันธ์ 2565 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรมีมติในวาระที่สองและสาม เห็นชอบกับร่างพ.ร.บ. ป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. … ที่คณะกรรมาธิการแก้ไข โดยลำดับต่อไป ร่างกฎหมายก็จะถูกส่งไปให้วุฒิสภาพิจารณา ก่อนจะทูลเกล้าให้ลงพระปรมาภิไธยเพื่อประกาศใช้อย่างเป็นทางการในพระราชกิจจานุเบกษา
จับตาสภาโหวตร่างพ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและการอุ้มหายฯ วาระสอง หยุดวงจรลอยนวลพ้นผิด
อ่าน

จับตาสภาโหวตร่างพ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและการอุ้มหายฯ วาระสอง หยุดวงจรลอยนวลพ้นผิด

เส้นทางของพ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย ได้เดินทางมาถึงวาระสอง โดยในชั้นกรรมาธิการได้มีการนำเนื้อหาของร่างของพรรคการเมืองและภาคประชาชนเข้ามารวมกับร่างที่ครม. เสนอในวาระหนึ่งด้วย ทำให้ร่างก้าวหน้าขึ้น การพิจารณาในวาระสอง จึงเป็นอีกหนึ่งวาระที่น่าจับตาว่าผลจะออกมาเป็นอย่างไร
เปิดร่างพ.ร.บ.ป้องกันการกระทำความผิดซ้ำฯ ฟื้นฟู จับตา อุดช่องโหว่ปัญหาคดีอุกฉกรรจ์
อ่าน

เปิดร่างพ.ร.บ.ป้องกันการกระทำความผิดซ้ำฯ ฟื้นฟู จับตา อุดช่องโหว่ปัญหาคดีอุกฉกรรจ์

ปัญหาการกระทำความผิดอาญารุนแรงซ้ำ เป็นหนึ่งในปัญหาสำคัญของสังคมไทย แม้จะมีมาตรการบางส่วนที่รับมือกับปัญหาดังกล่าว แต่ก็ยังไม่ตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้น ครม. จึงเสนอร่างพ.ร.บ.ป้องกันการกระทำความผิดซ้ำฯ ซึ่งกำหนดมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาการกระทำความผิดซ้ำ เพื่ออุดช่องโหว่ปัญหาเรื้อรังของสังคมไทย 
ศาลรัฐธรรมนูญ: คำวินิจฉัยคดีม็อบ 10 สิงหาฯ กับ อนาคตของข้อเรียกร้องปฏิรูปสถาบันกษัตริย์
อ่าน

ศาลรัฐธรรมนูญ: คำวินิจฉัยคดีม็อบ 10 สิงหาฯ กับ อนาคตของข้อเรียกร้องปฏิรูปสถาบันกษัตริย์

10 พฤศจิกายน 2564 ศาลรัฐธรรมนูญจะอ่านคำวินิจฉัยคดี "ล้มล้างการปกครองฯ" สืบเนื่องจากวันที่ 3 กันยายน 2563 ที่ณฐพร โตประยูร ยื่นเรื่องต่อศาลรัฐธรรมนูญ เพื่อขอให้ศาลสั่ง "เลิกการกระทำ" เพราะเหตุปราศรัยเรียกร้องในประเด็นเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์ โดยอ้างว่าเข้าข่ายล้มล้างการปกครองฯ ขัดกับรัฐธรรมนูญ 2560 มาตรา 49 
ประกาศผู้บัญชาการทหารสูงสุด ห้ามชุมนุมอย่างกว้างขวาง ทำยอดคดีชุมนุมพุ่งสูง
อ่าน

ประกาศผู้บัญชาการทหารสูงสุด ห้ามชุมนุมอย่างกว้างขวาง ทำยอดคดีชุมนุมพุ่งสูง

นับจนถึงต้นเดือนตุลาคม พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีได้อาศัยอำนาจตามมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดบริหารสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 (พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ) ออกข้อกำหนดเพื่อแก้ไขสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ทั้งสิ้น 34 ฉบับ และยังแต่งตั้งให้พล.อ.เฉลิมพล ศรีสวัสดิ์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ในฐานะหัวหน้าผู้รับผิดชอบในการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินในส่วนนที่เกี่ยวกับความมั่นคง พล.อ.เฉลิมพลก็ได้ออกประกาศหัวหน้าผู้รับชอบฯเรื่อง ห้ามการชุมชุม การทำกิจกรรม การมั่วสุม ที่ก่อให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19 ) รวมแล้ว 11 ฉบับ กลายเป็นกฎหมายหลักที่ถูกนำมาใช้สั่ง “ห้ามชุมนุม” และดำเนินคดีผู้ชุมนุมตามหลัง
จับกุมเด็กและเยาวชนต้องคำนึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ห้ามใช้เครื่องพันธนาการ
อ่าน

จับกุมเด็กและเยาวชนต้องคำนึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ห้ามใช้เครื่องพันธนาการ

การปรากฏตัวขึ้นของกลุ่มผู้ชุมนุม “ทะลุแก๊ซ” เมื่อช่วงเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา ได้นำไปสู่การปะทะอย่างต่อเนื่องระหว่างกลุ่มผู้ชุมนุมและเจ้าหน้าที่ตำรวจ ณ บริเวณแยกดินแดง ความรุนแรงที่เกิดขึ้นส่งผลให้มีการจับกุมผู้ชุมนุมซึ่งรวมถึงเด็กและเยาวชนจำนวนมาก ทั้งนี้ กระบวนการและขั้นตอนในการจับกุมเด็กและเยาวชนนั้นมีความแตกต่างจากกระบวนการที่ใช้เมื่อจับกุมผู้ต้องหาที่เป็นผู้ใหญ่ โดยกฎหมายหลักที่ใช้ก็คือ พ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ
เปิดสี่ร่างพ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและอุ้มหาย สร้างกลไกป้องกัน อุดช่องโหว่ปัญหาทรมาน-อุ้มหาย
อ่าน

เปิดสี่ร่างพ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและอุ้มหาย สร้างกลไกป้องกัน อุดช่องโหว่ปัญหาทรมาน-อุ้มหาย

สภาวะที่รัฐไม่มีกฎหมายภายในรับรองกรณีการซ้อมทรมานและอุ้มหาย กลายเป็นช่องโหว่ให้เจ้าหน้าที่รัฐหรือผู้มีอำนาจยังคงลอยนวลพ้นผิด แต่ในที่สุดร่างพ.ร.บ. ป้องกันการทรมานและอุ้มหายฯ ไม่ว่าจะที่เสนอโดยคณะรัฐมนตรี กรรมาธิการกฎหมายฯ พรรคประชาชาติ พรรคประชาธิปัตย์ ทั้งหมดสี่ฉบับ ก็ถูกบรรจุเป็นวาระการประชุมให้สภาผู้แทนราษฎรพิจารณา โดยทั้งสี่ฉบับมีรายละเอียดต่างกัน
ศาลสิทธิมนุษยชนยุโรปวางหลักคุ้มครองการชุมนุม ให้รัฐจ่ายค่าเสียหายเมื่อทำผิด
อ่าน

ศาลสิทธิมนุษยชนยุโรปวางหลักคุ้มครองการชุมนุม ให้รัฐจ่ายค่าเสียหายเมื่อทำผิด

เสรีภาพในการชุมนุม (Freedom of Assembly) เป็นหลักสากลที่ได้รับการรับรองทั่วโลกในฐานะสิทธิมนุษยชนพื้นฐานของพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย ที่จะสามารถรวมตัวแสดงออกเรียกร้องความต้องการของตนเอง ในทวีปยุโรป เสรีภาพในการชุมนุมได้รับการรับรองไว้ในมาตรา 11 ของ ECHR โดยมีศาลสิทธิมนุษยชนยุโรปเป็นผู้วินิจฉัยให้รัฐจ่ายค่าเสียหายเมื่อกระทำผิด