สตช. ขอขยายเวลาบังคับใช้ พ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและการอุ้มหายฯ เหตุงบประมาณ-บุคลากร ยังไม่พร้อม
อ่าน

สตช. ขอขยายเวลาบังคับใช้ พ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและการอุ้มหายฯ เหตุงบประมาณ-บุคลากร ยังไม่พร้อม

พ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและการอุ้มหายฯ พ.ศ.2565 จะมีผลบังคับใช้ 22 กุมภาพันธ์ 2566 แต่สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ทำหนังสือเสนอความเห็น ขอให้ขยายเวลาบังคับใช้กฎหมายดังกล่าว เฉพาะหมวด 3 การป้องกันการทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย เหตุบุคลากร-งบประมาณยังไม่พร้อม
2022 Judgement Days Recap: ขอบเขตที่ยังไม่แน่ชัด / ยกฟ้องคดี “ฟ้องทางไกล” เพราะพยานหลักฐานอ่อน  ประเด็นเด่นคำพิพากษา 112 รอบปี 65
อ่าน

2022 Judgement Days Recap: ขอบเขตที่ยังไม่แน่ชัด / ยกฟ้องคดี “ฟ้องทางไกล” เพราะพยานหลักฐานอ่อน ประเด็นเด่นคำพิพากษา 112 รอบปี 65

ประเด็นเด่นของคำพิพากษาที่ออกมาในปี 2565 คือเรื่องการตีความขอบเขตความคุ้มครองของมาตรา 112 ที่ยังขาดความชัดเจน เพราะคำพิพากษาที่ออกมามีทั้งที่ศาลตีความขยายขอบเขตไปคุ้มครองพระมหากษัตริย์ในอดีต และตีความไปคุ้มครองถึง “สถาบัน” ซึ่งไม่ใช่ถ้อยคำที่ปรากฎอยู่ในตัวบท ขณะเดียวกันก็มีคำพิพากษาที่ศาลตีความเคร่งครัด
ศาลวางบรรทัดฐาน ผู้ต้องหาไม่พิมพ์ลายนิ้วมือไม่ผิด หากไม่เป็นสาระสำคัญในการรวบรวมพยานหลักฐาน
อ่าน

ศาลวางบรรทัดฐาน ผู้ต้องหาไม่พิมพ์ลายนิ้วมือไม่ผิด หากไม่เป็นสาระสำคัญในการรวบรวมพยานหลักฐาน

15 ธันวาคม 2565 ศาลแขวงปทุมวันนัดยิ่งชีพ อัชฌานนท์ จำเลยที่ถูกกล่าวหาว่าฝ่าฝืนคำสั่งเจ้าพนักงานด้วยการไม่ยอมพิมพ์ลายนิ้วมือตามคำสั่งของพนักงานสอบสวนสน.
ทนายหญิงจะใส่กางเกงว่าความได้แล้ว? ย้อนไทม์ไลน์ สภาทนายความ-เนติฯ ไม่แก้ข้อบังคับแต่งกาย
อ่าน

ทนายหญิงจะใส่กางเกงว่าความได้แล้ว? ย้อนไทม์ไลน์ สภาทนายความ-เนติฯ ไม่แก้ข้อบังคับแต่งกาย

แม้หลายอาชีพจะให้ผู้หญิงสามารถสวมใส่กางเกงขณะทำงานได้ แต่บางอาชีพก็ยังมีกรอบกำหนดการแต่งกายโดยยึดโยงกับเพศกำหนด อาชีพทนายความ ก็เป็นหนึ่งในอาชีพที่ยังมีกรอบในการแต่งกายอยู่ โดยทนายความหญิงต้องใส่กระโปรงและเสื้อสีสุภาพไม่ฉูดฉาด
พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ จบ แต่คดีไม่จบ ตำรวจ อัยการ ศาลต้องหาทางออกคดีฝ่าฝืนพ.ร.ก.
อ่าน

พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ จบ แต่คดีไม่จบ ตำรวจ อัยการ ศาลต้องหาทางออกคดีฝ่าฝืนพ.ร.ก.

แม้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน ข้อกำหนด ประกาศ และคำสั่งที่ออกมาภายใต้พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ จะถูกยกเลิกแล้วตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 แต่การประกาศยกเลิกไม่ได้ระบุให้บรรดาคดีความในข้อหาฝ่าฝืนพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ สิ้นสุดลงด้วย ในทางกฎหมาย คดีเหล่านี้ยังเดินหน้าต่อได้ตามกระบวนการจนกว่าคดีจะถึงที่สุด    
4 ปี แล้วยังไม่พบศพสุรชัย แซ่ด่าน
อ่าน

4 ปี แล้วยังไม่พบศพสุรชัย แซ่ด่าน

ป้าน้อย ภรรยาของสุรชัย แซ่ด่าน นักเคลื่อนไหวที่ลี้ภัยทางการเมืองไปยังประเทศเพื่อนบ้านในปี 57 หลังจากนั้นมีข่าวการหายตัวไปของทั้งสุรชัย ภูชนะ และกาสะลอง ก่อนจะพบศพสหายทั้งสองคนถูกมัดใส่กระสอบลอยมาที่ริมน้ำโขง ส่วนร่างของสุรชัยนั้นผ่านมากว่า 4 ปี แล้ว ก็ยังหาร่างไม่พบ
ส.ส. เห็นด้วยกับ ส.ว. ผ่าน ร่าง พ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและการอุ้มหายฯ ปิดวงจรลอยนวลพ้นผิด
อ่าน

ส.ส. เห็นด้วยกับ ส.ว. ผ่าน ร่าง พ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและการอุ้มหายฯ ปิดวงจรลอยนวลพ้นผิด

24 สิงหาคม 2565 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรมีมติเห็นชอบร่างพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการทรมานและการบังคับให้บุคคลสูญหาย (ร่างพ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและการอุ้มหายฯ) ฉบับที่ผ่านการแก้ไขของวุฒิสภามาแล้ว
สรุปคำฟ้องคดีขอเพิกถอนข้อกำหนด “ลักไก่” ใช้พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ เพิ่มโทษผู้ชุมนุม
อ่าน

สรุปคำฟ้องคดีขอเพิกถอนข้อกำหนด “ลักไก่” ใช้พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ เพิ่มโทษผู้ชุมนุม

22 สิงหาคม 2565 เวลา 10.00 น. ที่ศาลแพ่ง ถนนรัชดาภิเษก นิสิตและนักศึกษาจากหลายมหาวิทยาลัยขอให้ศาลแพ่งมีคำสั่งเพิกถอนประกาศหัวหน้าผู้รับผิดชอบในการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินในส่วนที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคง ฉบับที่ 15 และขอให้ศาลเปิดไต่สวนเพื่อคุ้มครองชั่วคราว 
ร่างพ.ร.บ.ป้องกันทรมานอุ้มหายฯ ยังไม่เสร็จ เหตุส.ว. มีมติแก้ไข ต้องส่งกลับให้ ส.ส. เห็นชอบ
อ่าน

ร่างพ.ร.บ.ป้องกันทรมานอุ้มหายฯ ยังไม่เสร็จ เหตุส.ว. มีมติแก้ไข ต้องส่งกลับให้ ส.ส. เห็นชอบ

9 ส.ค. 2565 ที่ประชุมวุฒิสภาลงมติเห็นชอบกับการแก้ไขเพิ่มเติมร่างพ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและอุ้มหายฯ ด้วยคะแนนเสียงเห็นด้วย 121 เสียง ไม่เห็นด้วย 8 เสียง งดออกเสียง 6 เสียง ส่งผลให้ต้องส่งร่างกลับไปให้สภาผู้แทนราษฎรลงมติว่าเห็นด้วยกับการแก้ไขหรือไม่
“ศาลและความยุติธรรม ?” ศาลต้องทำให้คนเห็นว่านั่นคือความยุติธรรม
อ่าน

“ศาลและความยุติธรรม ?” ศาลต้องทำให้คนเห็นว่านั่นคือความยุติธรรม

27 กรกฎาคม 2565 ที่ห้องประชุมโฉมฉาย ชั้น 3 คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ เครือข่ายนักกฎหมายเพื่อความยุติธรรมและสันติภาพ จัดวงเสวนาวิชาการเรื่อง “ศาลและความยุติธรรม ?”