อ่าน กระบวนการยุติธรรม ติดตามกฎหมาย รัฐธรรมนูญและรัฐสภา รัฐสภา ศาลรัฐธรรมนูญ พ.ร.ก.ถูกตีตก รัฐบาลในอดีตเคยรับผิดชอบมาแล้วพฤษภาคม 26, 2023 ธรรมเนียมในอดีตของรัฐบาลที่ใช้อำนาจฝ่ายบริหารออก พ.ร.ก. โดยไม่ผ่านสภา และเวลาต่อมาถูกคว่ำนั้น จะต้องรับผิดชอบทางการเมืองด้วยการยุบสภาหรือลาออก 0 0 0
อ่าน กระบวนการยุติธรรม ติดตามกฎหมาย รัฐธรรมนูญและรัฐสภา ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลรัฐธรรมนูญตีตก พ.ร.ก.ยื้อกฎหมายป้องกันทรมานและอุ้มหาย ตำรวจต้องบันทึกภาพวิดีโอตอนจับและคุมตัวพฤษภาคม 18, 2023 18 พฤษภาคม 2566 ศาลรัฐธรรมนูญมีมติแปดต่อหนึ่ง ให้พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการซ้อมทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 พ.ศ. 2566 ขัดรัฐธรรมนูญ โดยการอ้างเหตุความไม่พร้อมด้านงบประมาณและบุคลากร ไม่เข้าเงื่อนไขในการออก พ.ร.ก. 0 0 0
อ่าน กระบวนการยุติธรรม ติดตามกฎหมาย เปิดพ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ จับกุมคำนึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และต้องมีที่ปรึกษากฎหมายเมษายน 21, 2023 จากการรวบรวมสถิติของศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน คดีหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ 112 มีเด็ก และเยาวชนถูกดำเนินคดีแล้วจำนวน 18 ราย ใน 21 คดี กรณีล่าสุดคือ “หยก” เด็กนักเรียนผู้ถูกออกหมายเรียกคดี 112 ในตอนที่อายุเพียงแค่ 14 ปี ชวนดูกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินคดีเด็กและเยาวชน กำหนดไว้อย่างไรบ้าง 0 0 0
อ่าน กระบวนการยุติธรรม ติดตามกฎหมาย มาตรา 112 (หมิ่นประมาทกษัตริย์ฯ) เยาวชนถูกตั้งข้อหา ม.112 ต้องติดคุกเหมือนผู้ใหญ่ไหม? กระบวนการแตกต่างกันอย่างไรบ้าง?เมษายน 11, 2023 พุทธศักราช 2563-2566 นับว่าเป็นช่วงเวลาประวัติศาสตร์ที่มีสถิติการบังคับใช้มาตรา 112 แบบแปลกๆ เกิดขึ้นมากมาย อาทิ จำนวนผู้ถูกตั้งข้อหาในภาพรวมพุ่งสูงเกิน 200 คน, จำนวนคดีต่อคนสูงสุดอยู่ที่ 23 คดี, เกิดคดีการฟ้องทางไกลข้ามจังหวัดระยะทางกว่า 1,800 กิโลเมตร หรือมี “นักร้องหน้าซ้ำ” ที่ไปริเริ่มคดีไว้ที่สถานีตำรวจเดิมด้วยตัวเองมากถึงเก้าครั้ง เป็นต้น อย่างไรก็ตาม สถิติใหม่หนึ่งที่น่ากังวลใจ คือการนำกฎหมายดังกล่าวมาบังคับใช้กับเด็กและเยาวชนเป็นครั้งแรก โดยจากข้อมูลของศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชนระบุว่า ปัจจุบันมีเด็กและเยาวชนที่อายุไม่เกิน 18 ปีถูกดำ 0 0 0
อ่าน กระบวนการยุติธรรม ติดตามกฎหมาย พรรครัฐบาลร่วมใจส่งศาลรัฐธรรมนูญ ยื้อ พ.ร.ก. เลื่อน พ.ร.บ. ป้องกันการทรมานและอุ้มหายฯมีนาคม 3, 2023 การส่งเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณา พ.ร.ก. แก้ไข พ.ร.บ. ป้องกันการทรมานและอุ้มหายฯ ทำให้สภาไม่มีโอกาสได้ลงมติ ซึ่งในระหว่างนี้บางมาตราของ พ.ร.บ. ป้องกันการทรมานและอุ้มหายฯ ก็จะถูกอุ้มหายไปด้วย รวมถึงรัฐบาลที่จะต้องเป็นผู้รับผิดชอบหาก พ.ร.ก. ไม่ได้รับความเห็นชอบก็จะหมดอายุตามสภาไปแล้ว 0 0 0
อ่าน กระบวนการยุติธรรม ประชุมสภา ยังไม่เคาะ! ส.ส. ส่งเรื่องไปศาลรัฐธรรมนูญ วินิจฉัยปมพ.ร.ก.เลื่อนบังคับใช้พ.ร.บ.อุ้มหายฯกุมภาพันธ์ 28, 2023 28 ก.พ. 2566 ส.ส. 100 คน เข้าชื่อกันเสนอต่อประธานสภา เพื่อส่งเรื่องไปศาลรัฐธรรมนูญเพื่อให้วินิจฉัยว่า พ.ร.ก. เลื่อนบังคับใช้พ.ร.บ.อุ้มหายฯ นั้นไม่เป็นไปตามเงื่อนไขที่รัฐธรรมนูญ มาตรา 172 กำหนด 0 0 0
อ่าน กระบวนการยุติธรรม คปช.53 ยื่นหนังสือฝ่ายค้าน เสนอนโยบายทวงความยุติธรรมให้คนเสื้อแดง ลงนาม ICCกุมภาพันธ์ 23, 2023 23 กุมภาพันธ์ 2566 13.00 น. คณะประชาชนทวงคืนความยุติธรรม 2553 (คปช.53) เข้ายื่นหนังสือกับตัวแทนพรรคฝ่ายค้าน เสนอนโยบายเพื่อทวงความยุติธรรมให้คนเสื้อแดงและประชาชนที่ถูกกระทำจากการเป็นผู้เห็นต่างทางการเมือง รวมถึงการแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ที่อาคารรัฐสภา เกียกกาย 0 0 0
อ่าน กระบวนการยุติธรรม Hunger Strike: การอดอาหารประท้วงจากประสบการณ์ในต่างแดนมกราคม 24, 2023 การอดอาหารเป็นวิธีการแสดงออกอย่างสันติวิธีหนึ่งที่ถูกใช้โดยนักเคลื่อนไหวจากหลายๆประเทศเพื่อต่อต้านผู้มีอำนาจหรือเรียกร้องการเปลี่ยนแปลงบางสิ่งบางอย่างโดยใช้ร่างกายและสุขภาพของตัวผู้ประท้วงเป็นเดิมพัน ซึงข้อเรียกร้องของผู้อดอาหารจะได้รับการตอบสนองมากน้อยแค่ไหนขึ้นอยู่กับสถานการณ์ของแต่ละประเทศ 0 0 0
อ่าน กระบวนการยุติธรรม สตช. ขอขยายเวลาบังคับใช้ พ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและการอุ้มหายฯ เหตุงบประมาณ-บุคลากร ยังไม่พร้อมมกราคม 12, 2023 พ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและการอุ้มหายฯ พ.ศ.2565 จะมีผลบังคับใช้ 22 กุมภาพันธ์ 2566 แต่สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ทำหนังสือเสนอความเห็น ขอให้ขยายเวลาบังคับใช้กฎหมายดังกล่าว เฉพาะหมวด 3 การป้องกันการทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย เหตุบุคลากร-งบประมาณยังไม่พร้อม 0 0 0
อ่าน กระบวนการยุติธรรม ติดตามกฎหมาย นักโทษการเมือง มาตรา 112 (หมิ่นประมาทกษัตริย์ฯ) เสรีภาพการแสดงออก 2022 Judgement Days Recap: ขอบเขตที่ยังไม่แน่ชัด / ยกฟ้องคดี “ฟ้องทางไกล” เพราะพยานหลักฐานอ่อน ประเด็นเด่นคำพิพากษา 112 รอบปี 65ธันวาคม 28, 2022 ประเด็นเด่นของคำพิพากษาที่ออกมาในปี 2565 คือเรื่องการตีความขอบเขตความคุ้มครองของมาตรา 112 ที่ยังขาดความชัดเจน เพราะคำพิพากษาที่ออกมามีทั้งที่ศาลตีความขยายขอบเขตไปคุ้มครองพระมหากษัตริย์ในอดีต และตีความไปคุ้มครองถึง “สถาบัน” ซึ่งไม่ใช่ถ้อยคำที่ปรากฎอยู่ในตัวบท ขณะเดียวกันก็มีคำพิพากษาที่ศาลตีความเคร่งครัด 0 0 0