ทำความรู้จักกับร่างกฎหมายป้องกัน “คดีปิดปาก” ใครฟ้องมั่วอาจต้องจ่ายค่าเสียหาย
อ่าน

ทำความรู้จักกับร่างกฎหมายป้องกัน “คดีปิดปาก” ใครฟ้องมั่วอาจต้องจ่ายค่าเสียหาย

23 มกราคม 2568 กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพจัดเวทีรับฟังความคิดเห็นต่อร่างกฎหมายป้องกันฟ้องปิดปากฯ ซึ่งเป็นการจัดขึ้นครั้งที่ห้า ชวนทำความรู้จักกับร่างกฎหมายป้องกันการปิดปากครั้งนี้กันว่าสำคัญยังไง มีเนื้อหาอะไรบ้าง
วงวิชาการถก กฎหมายสมรสเท่าเทียมใช้บังคับแล้ว ต้องแก้ไขกฎหมายอีกหลายฉบับ รับรองสิทธิหน้าที่สถานะคู่สมรส
อ่าน

วงวิชาการถก กฎหมายสมรสเท่าเทียมใช้บังคับแล้ว ต้องแก้ไขกฎหมายอีกหลายฉบับ รับรองสิทธิหน้าที่สถานะคู่สมรส

22 มกราคม 2568 คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดเสวนาวิชาการ แลกเปลี่ยนปัญหาการตีความกฎหมายอาญาและวิธีพิจารณาความอาญา หลังกฎหมายสมรสเท่าเทียมมีผลใช้บังคับ
เสวนาการดำเนินคดีปิดปากต่อนักปกป้องสิทธิ เมื่อผู้มีอำนาจอยากให้กลัว อยากให้เงียบ
อ่าน

เสวนาการดำเนินคดีปิดปากต่อนักปกป้องสิทธิ เมื่อผู้มีอำนาจอยากให้กลัว อยากให้เงียบ

ทนายความแนะ เมื่อรู้ว่ามีคดีปิดปากที่เขาจะเอาเปรียบก็ต้องรู้ทัน หาข้อต่อรองกับตำรวจและอัยการ ด้านอัยการน้ำแท้ระบุข้าราชการหวั่นแกรงถ้าจะทำสิ่งที่แหวกแนว คือ การสั่งไม่ฟ้องคดี
ปกป้อง ศรีสนิท “สิทธิมนุยชนที่มิอาจถูกพักใช้” แม้ในยามฉุกเฉินรัฐก็ละเมิดไม่ได้
อ่าน

ปกป้อง ศรีสนิท “สิทธิมนุยชนที่มิอาจถูกพักใช้” แม้ในยามฉุกเฉินรัฐก็ละเมิดไม่ได้

รศ.ดร.ปกป้อง ศรีสนิท นำเสนอปัญหาสิทธิมนุษยชนในกระบวนการยุติธรรม หากผู้ต้องหาไม่มีเงินยื่นประกันขอปล่อยตัวชั่วคราว หรือไม่มีญาติมาทำให้ จำเลยก็จะถูกขังทันที
ประเทศไทยใช้หลักสันนิษฐานไว้ก่อนว่าทำผิด- ปริญญา เสนอถึงเวลาต้องแก้ 
อ่าน

ประเทศไทยใช้หลักสันนิษฐานไว้ก่อนว่าทำผิด- ปริญญา เสนอถึงเวลาต้องแก้ 

ผศ.ดร.ปริญญา เทวานฤมิตรกุล บรรยาย หัวข้อ “รัฐธรรมนูญไทยกับการคุ้มครองสิทธิประชาชนและนักปกป้องสิทธิมนุษยชน” ในโอกาสวันสิทธิมนุษยชนสากล ณ สภาทนายความ
ถอดวงเสวนา มองไปข้างหน้าแก้ไขกฎหมายอายุความ ป้องกันเจ้าหน้าที่รัฐลอยนวลพ้นผิด
อ่าน

ถอดวงเสวนา มองไปข้างหน้าแก้ไขกฎหมายอายุความ ป้องกันเจ้าหน้าที่รัฐลอยนวลพ้นผิด

15 พฤศจิกายน 2567 ศูนย์นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดงานเสวนา ร่วมพูดคุยปัญหาการกำหนดอายุความในคดีอาญาตามกฎหมายไทย ซึ่งยังมีช่องให้ผู้กระทำความผิด โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่รัฐที่กระทำละเมิดต่อประชาชน ใช้เงื่อนไขเรื่องอายุความยื้อเวลาเพื่อให้ตนเองลอยนวลพ้นผิดได้
เสวนา “เจรจาสันติภาพ 20 ปี ชายแดนใต้” คดีตากใบกระทบความเชื่อใจในกระบวนการยุติธรรม
อ่าน

เสวนา “เจรจาสันติภาพ 20 ปี ชายแดนใต้” คดีตากใบกระทบความเชื่อใจในกระบวนการยุติธรรม

25 ต.ค.67 ประชาไทร่วมกับคณะนิติศาสตร์ มธ. จัดวงเสวนาหัวข้อ “เจรจาสันติภาพ 20 ปีชายแดนใต้ หรือจะเป็นได้แค่คนคุย” เพื่อแลกเปลี่ยนพูดคุยในประเด็นสันติภาพชายแดนใต้และคดีตากใบ
คดีตากใบ 2547 กับวัฒนธรรมพ้นผิดลอยนวลด้วยการหมดอายุความ 
อ่าน

คดีตากใบ 2547 กับวัฒนธรรมพ้นผิดลอยนวลด้วยการหมดอายุความ 

กลุ่มญาติของผู้เสียชีวิตในเหตุการณ์ตากใบ 2547 รวมตัวกันฟ้องศาลเพื่อเอาผิดเจ้าหน้าที่รัฐที่มีส่วนเกี่ยวข้อง หลังรอความยุติธรรมมานานกว่า 19 ปี จนล่าสุดศาลมีคำสั่งประทับรับฟ้อง และออกหมายจับจำเลยทั้ง 7 คน แต่กระบวนการเพื่อคืนความยุติธรรมอาจต้องสิ้นสุดลง หากวันที่ 25 ตุลาคม 2567 จำเลยทั้งหมดไม่มาปรากฎตัวต่อศาล 
กมธ.นิรโทษกรรมฯ สรุปรายงานส่งสภา ใส่เกียร์ว่าง ม.112 “ไม่สามารถหาข้อสรุปได้” แต่ 18 เสียงยืนยันรวม ม.112 ได้
อ่าน

กมธ.นิรโทษกรรมฯ สรุปรายงานส่งสภา ใส่เกียร์ว่าง ม.112 “ไม่สามารถหาข้อสรุปได้” แต่ 18 เสียงยืนยันรวม ม.112 ได้

คณะกรรมาธิการนิรโทษกรรมฯ สรุปรายงานส่งสภาผู้แทนราษฎร โดยเห็นว่าความผิดตามป.อาญา ม. 110 และ ม. 112 เป็นคดีที่มีความอ่อนไหว ไม่สามารถหาข้อสรุปเป็นมติของคณะกรรมาธิการวิสามัญได้ แต่ความเห็นแตกเป็นสามแนวทาง คือ 1. ไม่เห็นด้วยกับการนิรโทษกรรมคดีที่มีความอ่อนไหว, 2. เห็นด้วยกับการนิรโทษกรรมคดีที่มีความอ่อนไหวโดยมีเงื่อนไข และ 3. เห็นด้วยกับการนิรโทษกรรมคดีที่มีความอ่อนไหวโดยไม่มีเงื่อนไข
ถึงที่สุดแล้ว คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ชี้ ตำรวจให้พิมพ์ลายนิ้วมือได้เฉพาะคดีที่จำเป็น
อ่าน

ถึงที่สุดแล้ว คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ชี้ ตำรวจให้พิมพ์ลายนิ้วมือได้เฉพาะคดีที่จำเป็น

ศาลอุทธรณ์วางบรรทัดฐานว่า พนักงานสอบสวนจะมีอำนาจสั่งให้ผู้ต้องหาพิมพ์ลายนิ้วมือได้เฉพาะเพื่อให้ได้ข้อเท็จจริงเพื่อพิสูจน์ความผิดหรือความบริสุทธิ์ของผู้ต้องหาเท่านั้น ไม่ใช่เพียงเพื่อนำไปเก็บเป็นประวัติอาชญากร