พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ คุ้มครอง ศบค. ฟ้องศาลปกครองไม่ได้ ทำผิดไม่ต้องรับผิด
อ่าน

พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ คุ้มครอง ศบค. ฟ้องศาลปกครองไม่ได้ ทำผิดไม่ต้องรับผิด

ภายใต้สถานการณ์โควิดที่ระบาดต่อเนื่องจนควบคุมไม่ได้ รัฐบาลพล.อ.ประยุทธ์ บังคับใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ อย่างต่อเนื่อง จนขณะนี้ก็ยังไม่ยกเลิกการบังคับใช้และหาเครื่องมืออื่นมาใช้แก้ปัญหาโรคระบาดแทน หนึ่งใน “เครื่องมือ” ที่พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ มอบให้รัฐบาลและเจ้าหน้าที่รัฐซึ่งไม่มีความจำเป็นในสถานการณ์โรคระบาดเลย คือ “การยกเว้นความรับผิดให้เจ้าหน้าที่”
‘ศบค.’ คืออะไร? เปิดโครงสร้าง และรายชื่อบุคคลเบื้องหลัง
อ่าน

‘ศบค.’ คืออะไร? เปิดโครงสร้าง และรายชื่อบุคคลเบื้องหลัง

เปิดที่มาโครงสร้าง และรายชื่อบุคคลเบื้องหลังศูนย์บริหารสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (ศบค.) อันมีพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นผู้อำนวยการศูนย์
รวมข้อกำหนด-ประกาศที่ออกตามพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯระหว่างโควิด 19
อ่าน

รวมข้อกำหนด-ประกาศที่ออกตามพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯระหว่างโควิด 19

วันที่ 25 มีนาคม 2563 นายกรัฐมนตรีประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินทั่วประเทศ ตามมาด้วยข้อกำหนดและประกาศที่ออกตามความในมาตรา 9 ของพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ หลายฉบับ เฉพาะของนายกรัฐมนตรีออกมาแล้ว 25 ฉบับ นอกจากนี้ยังมีประกาศของผู้บัญชาการทหารสูงสุดและประกาศท้องถิ่นในแต่ละพื้นที่ต่างๆ เนื้อหาในข้อกำหนดและประกาศต่างๆเป็นไปเพื่อควบคุมสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด 19 ส่วนหนึ่งมีการห้ามรวมตัว ซึ่งเปลี่ยนแปลงไปตามสถานการณ์และดุลพินิจของผู้มีอำนาจในการออกกฎหมาย
ข้อห้ามชุมนุมตามพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ที่ไม่ชัดเจน ปราบโรคไม่อยู่ ปราบชุมนุมด้วยกำลัง
อ่าน

ข้อห้ามชุมนุมตามพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ที่ไม่ชัดเจน ปราบโรคไม่อยู่ ปราบชุมนุมด้วยกำลัง

25 มีนาคม 2563 พลเอกประยุทธ์ อาศัยอำนาจตามพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินฯ เพื่อยับยั้งการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 และสถานการณ์การบังคับใช้กฎหมายซ้ำซ้อนเพื่อควบคุมการชุมนุมก็กลับมาอีกครั้ง
‘New Normal’ ทางกฎหมายแบบผิดๆ ผลพวงจากเวลา “6 ปี คสช.”
อ่าน

‘New Normal’ ทางกฎหมายแบบผิดๆ ผลพวงจากเวลา “6 ปี คสช.”

ภายใต้ยุคสมัยของ คสช. "กฎหมาย" ถูกหยิบมาใช้เป็นเครื่องมือสนองตอบอำนาจ ด้วยระยะเวลาที่ยาวนานทำให้เกิดความเคยชินที่เป็นอันตราย และเมื่อเข้าสู่ยุคสมัยของรัฐบาลที่ "พยายามจะมาจากการเลือกตั้ง" แนวทางการใช้กฎหมายแบบผิดๆ ยังคงสืบทอดกันมาอย่างต่อเนื่อง 
พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ: ทำความเข้าใจกฎหมายที่ใช้รับมือโควิด-19
อ่าน

พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ: ทำความเข้าใจกฎหมายที่ใช้รับมือโควิด-19

25 มีนาคม 2563 พล.อ.ประยุทธ์ได้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักร และใช้ถึงวันที่ 30 เมษายน 2563 ซึ่งให้อำนาจนายกฯ ในการสั่งการหน่วยงานต่างๆ เพื่อรับมือกับสถานการณ์ฉุกเฉิน รวมถึงการออกข้อกำหนดในการกำหนดเรื่องการเดินทาง หรือกำหนดเวลาเข้าออกจากบ้าน รวมถึงการกำกับและควบคุมการนำเสนอข้อมูลข่าวสารได้อีกด้วย
กฎอัยการศึก-พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ อำนาจพิเศษควบคุมตัวคนได้ 7 วัน
อ่าน

กฎอัยการศึก-พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ อำนาจพิเศษควบคุมตัวคนได้ 7 วัน

การจับกุม และควบคุมตัวบุคคลจะอยู่ภายใต้ ป.วิอาญาฯ แต่ยังมีกฎหมายพิเศษด้านความมั่นคงอีก เช่น พ.ร.บ.กฎอัยการศึก หรือ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ
พ.ร.บ.สภาความมั่นคงแห่งชาติ “วางแผนความมั่นคงประเทศตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี”
อ่าน

พ.ร.บ.สภาความมั่นคงแห่งชาติ “วางแผนความมั่นคงประเทศตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี”

สนช.ผ่านร่าง พ.ร.บ.สภาความมั่นคงแห่งชาติ สาระสำคัญคือการเพิ่มนิยามคำว่า "ความมั่นคง" การเพิ่ม รมต.กระทรวงดิจิทัลและยุติธรรม เข้าไปในสภาความมั่นคงฯ และให้อำนาจหน้าที่ในการร่างนโยบายเกี่ยวกับความมั่นคง ซึ่งต้องร่างตามกรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี ของ คสช.
สถิติการบุกรุกสถานที่ของเอกชนโดยกองทัพหลังรัฐประหาร 2014
อ่าน

สถิติการบุกรุกสถานที่ของเอกชนโดยกองทัพหลังรัฐประหาร 2014

บันทึกข้อมูลสถิติการบุกหรือค้นบ้านและสถานที่ของเอกชนโดยกองทัพหลังรัฐประหาร วันที่ 22 พฤษภาคม 2557 ด้วยอำนาจพิเศษ (เท่าที่ทราบ)
รายชื่อข้าราชการที่ถูกแต่งตั้ง-โยกย้ายหลังรัฐประหาร
อ่าน

รายชื่อข้าราชการที่ถูกแต่งตั้ง-โยกย้ายหลังรัฐประหาร

เหตุการณ์การรัฐประหาร 22 พฤษภาคม 2557 ทำให้เกิดแรงกระเพื่อมมากมาย ทางฝ่ายงานราชการก็ได้รับผลกระทบ เกลุ่มข้าราชการระดับสูงถูกโยกย้ายและถูกปลดตำแหน่งกันยกใหญ่ด้วยอำนาจพิเศษ