4 เรื่อง ที่จะเกิดขึ้นถ้าร่างรัฐธรรมนูญฉบับประชาชนมีผลบังคับใช้
อ่าน

4 เรื่อง ที่จะเกิดขึ้นถ้าร่างรัฐธรรมนูญฉบับประชาชนมีผลบังคับใช้

17 พฤศจิกายน 2563 ที่ประชุมรัฐสภามีนัดพิจารณาญัตติการแก้ไขรัฐธรรมนูญ จากร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญเจ็ดฉบับ โดยหนึ่งในร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญที่จะถูกพิจารณา คือ ร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญ ฉบับที่เสนอโดยประชาชน ซึ่งหากร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับประชาชนผ่านการเห็นชอบจากรัฐสภา และประกาศใช้อย่างเป็นทางการ สิ่งที่จะเกิดขึ้นกับเส้นทางข้างหน้าของการเมืองไทย มีอย่างน้อย 4 เรื่อง
ข้อเสนอแก้ไขรัฐธรรมนูญเสนอโดยประชาชน “5 ยกเลิก 5 แก้ไข”
อ่าน

ข้อเสนอแก้ไขรัฐธรรมนูญเสนอโดยประชาชน “5 ยกเลิก 5 แก้ไข”

ชวนทำความเข้าใจเนื้อหาและเหตุผลของ ร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญ 5 ยกเลิก 5 แก้ไขเพื่อ “รื้อระบอบอำนาจของคสช. “สร้าง” หนทางกลับสู่ประชาธิปไตย และเปิดทางให้เกิดการ “ร่าง” รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ จากการมีส่วนร่วมของประชาชน
[อัพเดท!] สำหรับผู้ที่ร่วมลงชื่อ #แก้รัฐธรรมนูญ
อ่าน

[อัพเดท!] สำหรับผู้ที่ร่วมลงชื่อ #แก้รัฐธรรมนูญ

[อัพเดท!] สำหรับผู้ที่ร่วมลงชื่อ #แก้รัฐธรรมนูญ ตอนนี้สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรตรวจสอบเอกสารหลักฐานการลงชื่อและตรวจสอบความถูกต้องของผู้ที่เข้าชื่อเสนอร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติม จำนวน 98,824 คน เสร็จเรียบร้อยแล้ว
สรุปความ ‘ไพบูลย์ นิติตะวัน’ ที่ FCCT ระบุไม่เห็นด้วยร่างประชาชน 100,000 ชื่อ
อ่าน

สรุปความ ‘ไพบูลย์ นิติตะวัน’ ที่ FCCT ระบุไม่เห็นด้วยร่างประชาชน 100,000 ชื่อ

กระแสการแก้ไขรัฐธร…
ร่างรัฐธรรมนูญประชาชนต้องไปต่อ สภาต้องบรรจุสมัยหน้าพิจารณาพร้อมร่างพรรครัฐบาล-ฝ่ายค้าน
อ่าน

ร่างรัฐธรรมนูญประชาชนต้องไปต่อ สภาต้องบรรจุสมัยหน้าพิจารณาพร้อมร่างพรรครัฐบาล-ฝ่ายค้าน

24 กันยายน 2563 ที่ประชุมรัฐสภามีมติเสียงข้างมากให้ตั้งคณะกรรมาธิการเพื่อพิจารณาญัตติแก้รัฐธรรมนูญที่พรรคร่วมรัฐบาลและพรรคร่วมฝ่ายค้านเป็นผู้เสนอก่อนลงมติรับหลักการ (วาระแรก) โดยคาดว่าต้องใช้กรอบเวลาพิจารณาประมาณ 30 วัน และเริ่มพิจารณาใหม่อีกครั้งในสมัยประชุมหน้า
ภาคประชาชนบุกสภา แจ้งครบ 50,000 ชื่อแก้รัฐธรรมนูญแล้ว
อ่าน

ภาคประชาชนบุกสภา แจ้งครบ 50,000 ชื่อแก้รัฐธรรมนูญแล้ว

16 กันยายน 2563 ไอลอว์พร้อมเครือข่ายภาคประชาชนยื่นหนังสือต่อประธานรัฐสภาเพื่อแจ้งว่าจะนำรายชื่อประชาชนที่รวบรวมได้ราว 70,000 คนซึ่งร่วมเข้าชื่อเสนอแก้ไขรัฐธรรมนูญมายื่นต่อสภาเพื่อให้สภานำไปพิจารณาร่วมกับร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับอื่นๆ โดยนัดหมายที่จะนำรายชื่อที่ตรวจสอบแล้วทั้งหมดมายื่นในวันที่ 22 กันยายนนี้ 
ถ้าร่างแก้รัฐธรรมนูญผ่านปีนี้ ปลายปีหน้าได้รัฐธรรมนูญใหม่
อ่าน

ถ้าร่างแก้รัฐธรรมนูญผ่านปีนี้ ปลายปีหน้าได้รัฐธรรมนูญใหม่

ในเดือนกันยายน 2563 คาดว่าจะมีการพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญอย่างน้อยสองฉบับ โดยสาระสำคัญของร่างแก้รัฐธรรมนูญแต่ละฉบับมีจุดร่วมกัน คือ การเปิดทางให้มีการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่โดยสภาร่างรัฐธรรมนูญ (สสร.) ที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน และต้องจัดทำร่างรัฐธรรมนูญให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งถึงสองปี 
50,000 ชื่อแล้วยังไงต่อ? เมื่อประชาชนขอแก้รัฐธรรมนูญ ขั้นตอนยังอีกยาว
อ่าน

50,000 ชื่อแล้วยังไงต่อ? เมื่อประชาชนขอแก้รัฐธรรมนูญ ขั้นตอนยังอีกยาว

ในระหว่างที่ประชาชนกำลังช่วยเข้าชื่อให้ครบ 50,000 คน เพื่อยื่นข้อเรียกร้อง "รื้อ สร้าง ร่าง" รัฐธรรมนูญ จึงอยากชวนดูกันว่า หากเข้าชื่อได้ครบและนำไปยื่นต่อสภาแล้ว จะต้องเข้าสู่ขั้นตอนใดบ้างซึ่งยังไม่ใช่เรื่องง่าย ต้องผ่านอุปสรรคอีกหลายขั้นที่ยังเปิดช่องให้ถ่วงเวลาได้มาก
Q&A ตอบทุกคำถาม อยากลงชื่อ #แก้รัฐธรรมนูญ ต้องทำอย่างไรบ้าง
อ่าน

Q&A ตอบทุกคำถาม อยากลงชื่อ #แก้รัฐธรรมนูญ ต้องทำอย่างไรบ้าง

ระหว่างการล่ารายชื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญมีคำถามเข้ามามากมาย หลายคนสงสัยว่าต้องทำอย่างไร มีขั้นตอนใดบ้าง เราจึงรวบรวมคำถามหลักๆ ที่พบบ่อยๆ มาลองอธิบายแบบสั้นๆ ไว้ที่นี่ที่เดียว
“บำนาญแห่งชาติ” ความหวังชาตินี้ หรือชาติไหน?
อ่าน

“บำนาญแห่งชาติ” ความหวังชาตินี้ หรือชาติไหน?

ก่อนหน้าที่จะมีการระบาดของโควิด 19 เครือข่ายประชาชนเพื่อรัฐสวัสดิการได้พยายามผลักดันร่างกฎหมาย "พ.ร.บ.บำนาญแห่งชาติ" ซึ่งหลักใหญ่ใจความก็คือ การให้ผู้สูงอายุหรือผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป จะได้รับเงินบำนาญอย่างเสมอภาคกัน โดยวางกรอบวงเงินไว้ที่ 3,000 บาทต่อเดือน หลังภาคประชาชนรวบรวมรายชื่อไม่น้อยกว่า 10,000 คน เพื่อเสนอกฎหมายฉบับดังกล่าวสู่สภา กฎหมายกลับยังติดขัดอยู่ที่ตัวนายกรัฐมนตรี