Q&A ทุกคำถามในแคมเปญ #เขียนใหม่ทั้งฉบับเลือกตั้ง100เปอร์เซ็นต์!!!
อ่าน

Q&A ทุกคำถามในแคมเปญ #เขียนใหม่ทั้งฉบับเลือกตั้ง100เปอร์เซ็นต์!!!

เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2566 หลังภาคประชาชนเปิดแคมเปญ “เขียนใหม่ทั้งฉบับ เลือกตั้ง 100%” ชวนประชาชนเข้าชื่อเสนอทำประชามติต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อเป็นขั้นแรกไปสู่การเขียนรัฐธรรมนูญใหม่โดยประชาชน ตามกลไกของ พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการออกเสียงประชามติ พ.ศ. 2564  (พ.ร.บ.ประชามติ) ที่ต้องการรายชื่อของประชาชนผู้สนใจจะมีส่วนร่วมถึง 50,000 รายชื่อ ประชาชนจำนวนมากอาจจะสงสัยว่า ต้องทำอย่างไร หรือมีขั้นตอนอย่างไรบ้าง   ไอลอว์จึงขอรวมคำถามที่พบได้บ่อยรวมไปถึงข้อมูลพื้นฐานสำคัญสำหรับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการช่วยกันเขียนรัฐธรรมนูญใหม่เอาไว้ดังนี้
“เขียนใหม่ทั้งฉบับ เลือกตั้ง 100%” คำถามประชามติโดยประชาชน กระดุมเม็ดแรกสู่การเขียนรัฐธรรมนูญใหม่
อ่าน

“เขียนใหม่ทั้งฉบับ เลือกตั้ง 100%” คำถามประชามติโดยประชาชน กระดุมเม็ดแรกสู่การเขียนรัฐธรรมนูญใหม่

13 สิงหาคม 2566 เวลา 15.15 น. บริเวณลานหน้าหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร กลุ่มประชาชนร่างรัฐธรรมนูญ ซึ่งประกอบด้วยหลายองค์กรที่ผลักดันประเด็นเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ จัดเวทีแถลงการณ์เปิดแคมเปญ  “เขียนใหม่ทั้งฉบับ เลือกตั้ง 100%” เชิญชวนประชาชนเข้าชื่อเพื่อเสนอคำถามสำหรับการทำประชามติต่อคณะรัฐมนตรี (ครม.) ชุดใหม่ที่กำลังจะเกิดขึ้น   
เปิดคำถามประชามติโดยประชาชน ร่างรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ สสร. เลือกตั้ง 100%
อ่าน

เปิดคำถามประชามติโดยประชาชน ร่างรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ สสร. เลือกตั้ง 100%

กลุ่มประชาชนร่างรัฐธรรมนูญ เปิดแคมเปญ “เขียนใหม่ทั้งฉบับ เลือกตั้ง 100%” เชิญชวนประชาชนเข้าชื่อเพื่อเสนอคำถามสำหรับการทำประชามติต่อ ครม. ชุดใหม่ที่กำลังจะเกิดขึ้น
เปิดขั้นตอนประชาชนเข้าชื่อเสนอ ครม.ทำประชามติ  ผู้มีสิทธิเข้าชื่อต้องมีคุณสมบัติอะไรบ้าง?
อ่าน

เปิดขั้นตอนประชาชนเข้าชื่อเสนอ ครม.ทำประชามติ ผู้มีสิทธิเข้าชื่อต้องมีคุณสมบัติอะไรบ้าง?

เส้นทางของ “ประชาชน” ในการเป็นผู้ริเริ่มจัดทำ “ประชามติ” เพื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2560 นั้นไม่ได้ยุ่งยากสลับซับซ้อนจนเกินไป แต่ระหว่างทางต้องเดินอยู่ภายใต้กฎเกณฑ์ของคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) ผู้กำกับดูแล ก่อนถึงมือคณะรัฐมนตรีที่จะเป็นผู้พิจารณาในด่านสุดท้าย
ก้าวแรกสู่รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ทำไมประชาชนถึงต้องเสนอ “ประชามติ”
อ่าน

ก้าวแรกสู่รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ทำไมประชาชนถึงต้องเสนอ “ประชามติ”

ประชามติเป็นขั้นแรกของการร่างรัฐธรรมนูญใหม่ โดยประชาชนสามารถเป็นส่วนหนึ่งได้โดยการเข้าชื่ออย่างน้อย 50,000 คน เพื่อให้คณะรัฐมนตรีมีมติทำประชามติ การเข้าชื่อโดยประชาชนยังเป็นการมีส่วนร่วมในการ “กำหนดคำถามประชามติ” ว่าจะออกมาอย่างไร เพื่อรับรองว่าสสร. ที่มาจากประชาชนจะมีอำนาจในการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่อย่างแท้จริง 
เตรียมทำประชามติ 3 ครั้ง สู่รัฐธรรมนูญใหม่ หลังพรรคเพื่อไทยจัดตั้งรัฐบาล
อ่าน

เตรียมทำประชามติ 3 ครั้ง สู่รัฐธรรมนูญใหม่ หลังพรรคเพื่อไทยจัดตั้งรัฐบาล

พรรคเพื่อไทยจับมือกับพรรคภูมิใจไทยออกแถลงการณ์ร่วมกันว่า จะเร่งแก้ไขรัฐธรรมนูญ โดยการประชุมคณะรัฐมนตรีในวาระแรกจะมีมติให้ทำประชามติขอจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ซึ่งเป็นขั้นตอนการทำประชามติพิเศษเพิ่มเติมขึ้นมา เท่ากับว่าหากจะจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ให้สำเร็จ ต้องทำประชามติอย่างน้อย 3 ครั้ง
50,000 ชื่อเสนอคำถามประชามติโดยประชาชน
อ่าน

50,000 ชื่อเสนอคำถามประชามติโดยประชาชน

นี่เป็นครั้งแรกที่ประชาชนจะเข้าชื่อกันให้ครบ 50,000 รายชื่อ เพื่อเสนอคำถามในการทำประชามติต่อคณะรัฐมนตรี ไม่มีความชัดเจนว่าการลงลายมือชื่อผ่านระบบออนไลน์สามารถทำได้หรือไม่ จึงจำเป็นที่ต้องพยายามช่วยกันรวบรวมรายชื่อประชาชนให้ได้ครบโดยการลงชื่อจริงๆ ด้วยปากกาในแบบฟอร์มกระดาษก่อนเพื่อความแน่นอน 
ครม. ด่านสุดท้ายเคาะคำถามประชามติ
อ่าน

ครม. ด่านสุดท้ายเคาะคำถามประชามติ

คำถามประชามติ คือสิ่งที่สำคัญในการกำหนดทิศทางการรณรงค์และลงคะแนนของประชาชนว่าจะเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบกับคำถามนั้น ถ้าคำถามมีปัญหาก็อาจจะส่งผลต่อการลงคะแนนเสียงที่ไม่เป็นไปตามความต้องการของประชาชนหรืออาจทำให้การจัดประชามติไร้ความหมาย ดังนั้นคำถามจะถูกจัดการออกมาในรูปแบบไหนถึงมีความสำคัญไม่แพ้การออกเสียงประชามติ                  
2 ประชามติ 2 สภาใหม่ ! คาดการณ์ 7 ขั้นตอนที่ไม่ง่ายสู่ “รัฐธรรมนูญประชาชน”
อ่าน

2 ประชามติ 2 สภาใหม่ ! คาดการณ์ 7 ขั้นตอนที่ไม่ง่ายสู่ “รัฐธรรมนูญประชาชน”

หนทางสู่การมีรัฐธรรมนูญจากประชาชนต้องผ่านประชามติอย่างน้อย 2 ครั้ง ผ่านคูหาเลือกสว.​ และการเลือกตั้งส.ส.ร. ที่ยังไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนในประเทศนี้ ซึ่งประเมินได้ว่าต้องใช้เวลาอย่างน้อย 2-3 ปี ถ้าไม่มีเหตุขัดขวางระหว่างทาง
ถ้าได้ใช้ พ.ร.บ.ประชามติฯ รัฐสภา-ประชาชน เสนอทำประชามติได้
อ่าน

ถ้าได้ใช้ พ.ร.บ.ประชามติฯ รัฐสภา-ประชาชน เสนอทำประชามติได้

แม้ประเทศไทยจะเคยมีการทำประชามติมาแล้วหลายครั้ง แต่ก็ไม่เคยมีกฎหมายประชามติที่ใช้เป็นการทั่วไปมาก่อน ถ้าหากร่างพ.ร.บ.ประชามติฯ ผ่านการพิจารณาของรัฐสภา จะเป็นกฎหมายที่รองรับการจัดทำประชามติเพื่อให้ประชาชนผู้เป็นเจ้าของประเทศมีส่วนร่วมตัดสินใจได้ และรัฐสภา-ประชาชน ก็สามารถเสนอเรื่องประชามติได้