ตั้ม จิรวัฒน์: ถ้าต้องติดคุกก็ให้มันเป็นส่วนหนึ่งของการเปลี่ยนผ่านสู่ประชาธิปไตย
อ่าน

ตั้ม จิรวัฒน์: ถ้าต้องติดคุกก็ให้มันเป็นส่วนหนึ่งของการเปลี่ยนผ่านสู่ประชาธิปไตย

เช้าวันที่ 7 กรกฎาคม ตำรวจราว 13 นาย นำกำลังไปล้อมบ้านพักหลังหนึ่งย่านพระประแดง บ้านหลังนั้นไม่ใช่บ้านของพ่อค้ายาเสพย์ติด ไม่ใช่บ้านของคนร้ายคดีฆาตกรรม แต่เป็นบ้านของ “จิรวัฒน์” หรือ “ตั้ม” อดีตพนักงานบริษัทและเจ้าของเพจการ์ตูนเสียดสีการเมือง “คนกลมคนเหลี่ยม” ทันทีที่ตั้มเปิดประตูบ้านในเวลาประมาณเจ็ดโมงเช้าเขาก็พบว่ามีแขกที่ไม่ได้รับเชิญมารออยู่แล้ว แขกที่ตั้มไม่อาจปฏิเสธไม่ให้เข้าบ้านได้  หลังแสดงหมายค้นเจ้าหน้าที่ทำการค้นบ้านและยึดอุปกรณ์สื่อสารของตั้มทั้งโทรศัพท์มือถือและไอแพดที่เขาใช้วาดการ์ตูนไป จากนั้นจึงเชิญตัวเขาไปพูดคุยที่กองบังคับการปราบปรามการกระ
นักโทษการเมือง #ระลอก4 ยังคง “เข้า-ออก เรือนจำ” ต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 5
อ่าน

นักโทษการเมือง #ระลอก4 ยังคง “เข้า-ออก เรือนจำ” ต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 5

จนถึงวันที่ 19 สิงหาคม 2565 มีนักกิจกรรมทางการเมืองที่ถูกคุมขังระหว่างการสอบสวนและระหว่างที่คดียังไม่ถึงที่สุดอย่างน้อย 29 คน  นับจากกระแสเรียกร้องทางการเมืองรอบใหม่การคุมขังนักเคลื่อนไหวทางการเมืองเกิดขึ้นเป็นระลอกๆ ตามบรรยากาศการชุมนุมเรียกร้องที่ขยายตัวขึ้นและลง ในช่วงเวลานี้ถือเป็นระลอกที่สี่แล้ว ไล่เรียงมาตั้งแต่ (1) ช่วงเดือนตุลาคม 2563 (2) ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ 2564 (3) ช่วงเดือนสิงหาคม 2564  (4) หลังการทยอยปล่อยตัวแกนนำราษฎรเมื่อเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ 2565 ไม่นานนัก “คำสั่งคุมขัง” ก็กลับมาอ
แนวโน้มคำพิพากษาคดีมาตรา 112 ในปี 2565
อ่าน

แนวโน้มคำพิพากษาคดีมาตรา 112 ในปี 2565

*ข้อมูล ณ วันที่ 28 ธันวาคม 2565 ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 เป็นกฎหมายอาญาที่มีบทลงโทษหนักคือจำคุกตั้งแต่ 3-15 ปี มักจะถูกนำมาบังคับใช้ในทางจำกัดเสรีภาพการแสดงออกและใช้ในการจัดการขั้วตรงข้ามทางการเมือง ระหว่างการรัฐประหาร 2557 เป็นอีกช่วงเวลาที่มาตรา 112 ถูกนำมาใช้ปราบปรามประชาชน การบังคับใช้ในช่วงเวลาดังกล่าวเห็นถึงปัญหาของตัวบทกฎหมายที่เปิดโอกาสให้ตีความกว้างขวาง การลงโทษหนักหน่วงและจำเลยบางคนไม่สามารถอุทธรณ์หรือฎีกาได้เนื่องจากคดีอยู่ในอำนาจการพิจารณาของศาลทหารและเหตุแห่งคดีเกิดระหว่างมีการประกาศกฎอัยการศึก แต
วาระนายกฯ 8 ปี ของ พล.อ.ประยุทธ์ บทพิสูจน์รัฐธรรมนูญปราบโกง
อ่าน

วาระนายกฯ 8 ปี ของ พล.อ.ประยุทธ์ บทพิสูจน์รัฐธรรมนูญปราบโกง

24 สิงหาคม 2565 จะเป็นวันที่ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ผู้ทำการรัฐประหารจะดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีมาครบ 8 ปี (นับตั้งแต่วันที่ 24 สิงหาคม 2557) ซึ่งตามรัฐธรรมนูญ กำหนดให้ผู้ดำรงตำแหน่งนายกฯ จะดำรงตำแหน่งเกิน 8 ปี ไม่ได้ แต่ทว่า การเริ่มนับวาระการดำรงตำแหน่งของ พล.อ.ประยุทธ์ ยังเป็นข้อถกเถียงอยู่ว่าจะเริ่มนับเมื่อไร
แซม ทะลุฟ้า จำเลยคดีเผาซุ้มเฉลิมพระเกียรติไม่ได้รับการประกันตัวเป็นครั้งที่ 4
อ่าน

แซม ทะลุฟ้า จำเลยคดีเผาซุ้มเฉลิมพระเกียรติไม่ได้รับการประกันตัวเป็นครั้งที่ 4

11 สิงหาคม 2565 ศาลอาญานัดไต่สวนคำร้องคัดค้านฝากขัง พรชัย ยวนยี หรือ “แซม ทะลุฟ้า” พรชัยถูกตั้งข้อกล่าวหาตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 โดยถูกกล่าวหาว่าร่วมกับผู้อื่นเผาซุ้มเฉลิมพระเกียรติรัชกาลที่สิบเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2564 ระหว่างการชุมนุมคาร์ม็อบในโอกาสครบรอบ 15 ปี การรัฐประหาร 19 กันยายน 2549 พรชัยถูกจับกุมตัวเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม 2565 ระหว่างที่เขาไปติดต่อราชการกับเจ้าหน้าที่ตำรวจเพื่อขอให้เพิกถอนหมายจับในคดีการชุมนุมของ 14 นักศึกษา ขบวนการประชาธิปไตยใหม่ที่เกิดขึ้นในปี 2558 และคดีสิ้นสุดไปแล้วเพื่อเตรียมเดินทางไปต่างประเทศ แต
ประชุมสภา: สภาล่มครั้งที่ 19 ร่าง พ.ร.ป.เลือกตั้ง ส.ส. มีแนวโน้มพลิกกลับไปสูตรหาร 100
อ่าน

ประชุมสภา: สภาล่มครั้งที่ 19 ร่าง พ.ร.ป.เลือกตั้ง ส.ส. มีแนวโน้มพลิกกลับไปสูตรหาร 100

10 สิงหาคม 2565 ที่ประชุมรัฐสภามีนัดพิจารณา ร่าง พ.ร.ป.เลือกตั้ง ส.ส. ในวาระสอง โดยในวันดังกล่าว สภาได้พิจารณาไปถึงมาตรา 24/1 แต่ทว่า ผลการลงมติในมาตราดังกล่าวมีไม่ถึงจำนวนกึ่งหนึ่งของสมาชิกรัฐสภา ทำให้ พลเพชร วิชิตชลชัย ที่ทำหน้าที่เป็นประธานรัฐสภาสั่งปิดการประชุม และมีแนวโน้มที่รัฐสภาจะพิจารณากฎหมายไม่ทัน 180 วัน และถือว่ารัฐสภาให้ความเห็นชอบ ร่าง พ.ร.ป.เลือกตั้ง ส.ส. ฉบับ ครม. ที่ใช้สูตรคำนวณที่นั่ง ส.ส. แบบสูตรหาร 100
จับตาโค้งสุดท้ายกฎหมายลูกเลือกตั้ง หากรัฐสภาพิจารณาไม่ทัน พลิกกลับเป็นสูตร “หาร 100”
อ่าน

จับตาโค้งสุดท้ายกฎหมายลูกเลือกตั้ง หากรัฐสภาพิจารณาไม่ทัน พลิกกลับเป็นสูตร “หาร 100”

10 ส.ค. 2565 ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา  มีวาระพิจารณาร่างพ.ร.ป.การเลือกตั้งส.ส. ซึ่งรัฐสภาต้องพิจารณาให้เสร็จภายใน 15 ส.ค. หากไม่เสร็จ ให้ถือว่ารัฐสภาให้ความเห็นชอบตามร่างพ.ร.ป.ที่ใช้เป็นหลักในการพิจารณาวาระสอง พลิกเนื้อหาหลายอย่างกับไปเป็นแบบเดิม
สภาล่ม: จากความบกพร่องสู่ความตั้งใจของฝ่ายรัฐบาล
อ่าน

สภาล่ม: จากความบกพร่องสู่ความตั้งใจของฝ่ายรัฐบาล

นับตั้งแต่เปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎรและรัฐสภาตั้งแต่ปี 2562 มีเหตุการณ์สภาล่มเกิดขึ้นรวมกัน อย่างน้อย 18 ครั้ง โดยจากสถิติการเข้าประชุมสภาสะท้อนว่า ฝ่ายรัฐบาลซึ่งไปด้วยไปด้วยพรรครัฐบาลและสมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการแต่งตั้งไม่สามารถรักษาองค์ประชุมได้ อีกทั้ง ในช่วงหลังฝ่ายรัฐบาลพยายามใช้เหตุการณ์สภาล่มเพื่อผลประโยชน์ทางการเมืองของตนเอง
3 ข้อที่จะหายไป ถ้าพิจารณาร่าง พ.ร.ป.เลือกตั้ง ส.ส. ไม่ทัน
อ่าน

3 ข้อที่จะหายไป ถ้าพิจารณาร่าง พ.ร.ป.เลือกตั้ง ส.ส. ไม่ทัน

พ.ร.ป.เลือกตั้ง ส.ส. ส่อแววพิจารณาไม่เสร็จภายใน 180 วันตามที่กฎหมายกำหนด การปล่อยให้พิจารณาไม่ทันนั้นมีมากกว่าแค่เรื่องของสูตรคำนวณที่นั่ง ส.ส. เพราะยังมีข้อเสนอที่มีประโยชน์ต่อการเข้าถึงการเลือกตั้งของประชาชนที่อาจต้องหายไป