จับตาฝ่ายค้านอภิปรายทั่วไป ซักฟอกรัฐบาลแบบไม่ลงมติ
อ่าน

จับตาฝ่ายค้านอภิปรายทั่วไป ซักฟอกรัฐบาลแบบไม่ลงมติ

รัฐธรรมนูญ มาตรา 152 กำหนดให้ ส.ส. จำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในสิบของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร สามารถเข้าชื่อเสนอญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อซักถามข้อเท็จจริงหรือเสนอแนะปัญหาต่อคณะรัฐมนตรี โดยไม่มีการลงมติได้ เป็นหนึ่งในกลไกตรวจสอบรัฐบาล โดยไม่มีการลงมติชี้ขาดสถานะนายกฯ หรือรัฐมนตรี
รวมปรากฏการณ์ “ชุมนุม-คุกคาม-ตอบโต้” การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสถาบันกษัตริย์
อ่าน

รวมปรากฏการณ์ “ชุมนุม-คุกคาม-ตอบโต้” การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสถาบันกษัตริย์

นับตั้งแต่วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2565 เป็นต้นมา มีการชุมนุมหรือจัดกิจกรรมทางการเมืองเพื่อแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสถาบันกษัตริย์ อย่างน้อย 4 ครั้ง แต่ทั้งก่อนและหลังการจัดกิจกรรมดังกล่าว จะมีเจ้าหน้าที่รัฐเข้าไปคุกคามบรรดาประชาชนและนักกิจกรรม ซึ่งมีไม่น้อยกว่า 14 ครั้ง อาทิ เจ้าหน้าที่ตำรวจเข้าไป “ติดตามตัว” บรรดานักกิจกรรมบริเวณเคหสถานหรือที่พัก ซึ่งปฏิบัติการดังกล่าวเป็นกระบวนการที่ไม่มีอำนาจตามกฎหมายรองรับที่ชัดเจน รวมถึงมีการสอบถามข้อมูลส่วนตัวและมีการข่มขู่เพื่อไม่ให้ทำกิจกรรมทางการเมือง นอกจากนี้ กลุ่มที่ไม่เห็นด้วยกับการแสดงความคิดเห็นในเชิงวิพากษ์วิจารณ์สถาบันกษัตริย์ก็ค่อยๆ ขยับ เพื่
แจงปรากฏการณ์ใช้สรรพากร คุกคามภาคประชาชน-ขอตรวจภาษีแต่ล้วงลูกถึงเนื้อหา-การจ้างคน
อ่าน

แจงปรากฏการณ์ใช้สรรพากร คุกคามภาคประชาชน-ขอตรวจภาษีแต่ล้วงลูกถึงเนื้อหา-การจ้างคน

11 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 13.00 น. ตัวแทนองค์กรภาคประชาชนชี้แจงข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการตรวจสอบภาษีในองค์กรภาคประชาสังคมที่ทำงานด้านสิทธิมนุษยชนและวิพากษ์วิจารณ์รัฐบาลชุดนี้มาตลอด เป็นการตรวจสอบที่เรียกว่า ล้วงลูกทั้งที่เป็นอำนาจของสรรพากรและไม่ใช่อำนาจของสรรพากร
ได้หมาย YOUNG EP.4 คุยกับสี่นักกิจกรรมแดนใต้ “กระบี่ไม่ทน-กลุ่มนิสิตเพื่อประชาธิปไตย-ภูเก็ตปลดแอก และเฟมินิสต์ปลดแอก ภาคใต้”
อ่าน

ได้หมาย YOUNG EP.4 คุยกับสี่นักกิจกรรมแดนใต้ “กระบี่ไม่ทน-กลุ่มนิสิตเพื่อประชาธิปไตย-ภูเก็ตปลดแอก และเฟมินิสต์ปลดแอก ภาคใต้”

เมื่อพูดถึง “ภาคใต้” หลายคนอาจนึกถึงลมเย็นๆ ริมหาด การไปดำน้ำดูปะการังสวยๆ หรือแกงไตปลาอร่อยๆ แต่เมื่อขยายอาณาบริเวณเข้าไปในประเด็นการเมือง “ภาคใต้” นับเป็นพื้นที่หนึ่งในประเทศที่ขึ้นชื่อว่าเป็น “เขตแดนของฝ่ายอนุรักษ์นิยม” ส่งผลให้ภูมิภาคนี้กลายเป็นปราการด่านยากที่สร้างอุปสรรคให้เหล่านักกิจกรรมที่เคลื่อนไหวทางการเมืองในพื้นที่เรื่อยมา  
แถลงข้อเท็จจริงสรรพากรเข้าตรวจสอบองค์กรเอ็นจีโอ
อ่าน

แถลงข้อเท็จจริงสรรพากรเข้าตรวจสอบองค์กรเอ็นจีโอ

ตั้งแต่เดือนธันวาคม 2564องค์กรภาคประชาสังคมที่ทำงานด้านสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา อย่างน้อย 6 แห่ง ได้แก่ มูลนิธิอาสาสมัครเพื่อสังคม (มอส.) มูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม (EnLaw) มูลนิธิสื่อเพื่อการศึกษาของชุมชน (ประชาไท) ศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน (TLHR) สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน (HRLA) และ iLaw ทยอยได้รับการแจ้งและการเข้าตรวจสอบการเงินโดยเจ้าหน้าที่กรมสรรพากร  
“ใบปอ” นักเคลื่อนไหวหน้าใหม่ เปิดพื้นที่ถกปฏิรูปสถาบันกษัตริย์
อ่าน

“ใบปอ” นักเคลื่อนไหวหน้าใหม่ เปิดพื้นที่ถกปฏิรูปสถาบันกษัตริย์

ไม่กี่เดือนที่ผ่านมาปรากฏการเคลื่อนไหวของกลุ่มนักกิจกรรมกลุ่มใหม่ชื่อว่า “ทะลุวัง” ซึ่งทำกิจกรรมเน้นรูปแบบสอบถามความคิดเห็นหรือโพลแบบง่ายๆ ว่า เห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการปฏิรูปสถาบันกษัตริย์ “ใบปอ” นักศึกษาชั้นปีที่หนึ่ง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นหนึ่งในสมาชิกกลุ่มดังกล่าว ก่อนที่จะสังกัดกลุ่ม “ทะลุวัง” เธอเริ่มเคลื่อนไหวในเดือนธันวาคม 2564 ตามสถานที่ต่างๆ เช่น ห้างสรรพสินค้าและพื้นที่
เปิดเทคนิคใหม่รัฐบาล เตะถ่วงร่างกฎหมาย ขอศึกษาก่อน 60 วัน
อ่าน

เปิดเทคนิคใหม่รัฐบาล เตะถ่วงร่างกฎหมาย ขอศึกษาก่อน 60 วัน

9 กุมภาพันธ์ 2565 สภาผู้แทนราษฎรอนุมัติให้ครม. นำร่างกฎหมายถึง 4 ฉบับ ไปศึกษาก่อนรับหลักการ 60 วัน 3 ฉบับเป็นร่างกฎหมายน่าจับตา #สุราก้าวหน้า #สมรสเท่าเทียม ร่างพ.ร.บ.ฉุกเฉินฯ ชวนดูเทคนิคใหม่รัฐบาล ในการ "ยื้อเวลา" ร่างกฎหมาย
ตำรวจนครสวรรค์ตามติด “โอ้ต” นักกิจกรรมในพื้นที่หวั่นแสดงออกช่วง “มีเสด็จ”
อ่าน

ตำรวจนครสวรรค์ตามติด “โอ้ต” นักกิจกรรมในพื้นที่หวั่นแสดงออกช่วง “มีเสด็จ”

‘โอ้ต’ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 และนักกิจกรรมสหพันธ์นักเรียนนครสวรรค์ ให้ข้อมูลว่าในช่วงวันที่ 5 – 7 กุมภาพันธ์ 2
พรรครัฐบาล “เตะถ่วง” ร่างกฎหมายของพรรคฝ่ายค้าน 3 ฉบับรวด
อ่าน

พรรครัฐบาล “เตะถ่วง” ร่างกฎหมายของพรรคฝ่ายค้าน 3 ฉบับรวด

9 กุมภาพันธ์ 2565 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรมีมติให้คณะรัฐมนตรีรับร่างกฎหมาย "สุราก้าวหน้า-สถานการณ์ฉุกเฉิน-สมรสเท่าเทียม" ไปพิจารณาก่อน 60 วัน แล้วจึงส่งกลับมาพิจารณาใหม่อีกครั้ง ซึ่งมติดังกล่าว นับว่าเป็นเทคนิกใหม่ในการ "เตะถ่วง" กฎหมายของพรรครัฐบาล
สภาอนุมัติครม. เตะถ่วง #สมรสเท่าเทียม 60 วัน ด้านส.ส.ประชาชาติ ห่วงกฎหมายขัดหลักศาสนาอิสลาม
อ่าน

สภาอนุมัติครม. เตะถ่วง #สมรสเท่าเทียม 60 วัน ด้านส.ส.ประชาชาติ ห่วงกฎหมายขัดหลักศาสนาอิสลาม

9 กุมภาพันธ์ 2565 สภาผู้แทนราษฎรมีมติอนุมัติให้ครม. นำร่างพ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งฯ #สมรสเท่าเทียม ไปศึกษาก่อนรับหลักการ 60 วัน ร่างกฎหมายดังกล่าวจึงยังไม่ได้พิจารณาในวาระหนึ่ง