หน่วยงานรัฐไหนบ้าง? เห็นด้วยกับการแก้ประมวลกฎหมายแพ่งฯ #สมรสเท่าเทียม
อ่าน

หน่วยงานรัฐไหนบ้าง? เห็นด้วยกับการแก้ประมวลกฎหมายแพ่งฯ #สมรสเท่าเทียม

เมื่อ 9 ก.พ. 2565 ครม. อุ้มร่างกฎหมาย #สมรสเท่าเทียม ไปศึกษาก่อนที่สภาจะลงมติรับหลักการ โดยจัดรับฟังความเห็นจากหน่วยงานรัฐ หน่วยงานรัฐแปดหน่วยงานที่เห็นด้วยกับร่างกฎหมายดังกล่าว ขณะที่สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ให้ความเห็นต่อครม. ว่าไม่สมควรรับหลักการ
รัฐสภานัดถกร่างพ.ร.บ.เครื่องราชฯ หลังพระมหากษัตริย์ไม่ลงพระปรมาภิไธยภายใน 90 วัน
อ่าน

รัฐสภานัดถกร่างพ.ร.บ.เครื่องราชฯ หลังพระมหากษัตริย์ไม่ลงพระปรมาภิไธยภายใน 90 วัน

9-10 มิ.ย. 2565 ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา มีนัดปรึกษาร่างพ.ร.บ.เครื่องราชฯ ซึ่งนายกฯ ได้นำร่างขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายพระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธยเมื่อ 31 มกราคม 2565 แต่พระมหากษัตริย์ไม่ได้ลงพระปรมาภิไธยภายใน 90 วัน และไม่ได้พระราชทานร่างกฎหมายคืนกลับมา
จับตา #ประชุมสภา พิจารณากฎหมายน่าสนใจหลายฉบับ
อ่าน

จับตา #ประชุมสภา พิจารณากฎหมายน่าสนใจหลายฉบับ

 6-10 มิ.ย. 2565 ฝ่ายนิติบัญญัติมีกำหนดนัดพิจารณาร่างกฎหมายที่น่าจับตาหลายฉบับ อาทิ ร่างพระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต #สุราก้าวหน้า ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ #สมรสเท่าเทียม และร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งแก้ไขให้สอดคล้องกับการแก้รัฐธรรมนูญเรื่องระบบเลือกตั้ง  
สภาผู้แทนราษฎร รับหลักการร่างพ.ร.บ. #งบประมาณปี66 วงเงิน 3.185 ล้านล้านบาท
อ่าน

สภาผู้แทนราษฎร รับหลักการร่างพ.ร.บ. #งบประมาณปี66 วงเงิน 3.185 ล้านล้านบาท

3 มิถุนายน 2565 เวลา 01.09 น. สภาผู้แทนราษฎรลงมติ “รับหลักการ” ร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (ร่างพ.ร.บ.งบประมาณปี 2566) ด้วยคะแนนเสียงเห็นด้วย 278 เสียง ไม่เห็นด้วย 194 เสียง งดออกเสียง 2 เสียง
8 ปี คสช. สภาแต่งตั้งเลือกสรรคนไปเป็น “องค์กรตรวจสอบ”
อ่าน

8 ปี คสช. สภาแต่งตั้งเลือกสรรคนไปเป็น “องค์กรตรวจสอบ”

ยุคคสช. สภาที่มาจากประชาชนก็กลายเป็นสภาแต่งตั้ง หลังปี 2562 มีสภาผู้แทนราษฎร แต่วุฒิสภา ที่ให้ความเห็นชอบบุคคลมาดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระและหน่วยงานของรัฐ มีที่มาไม่ยึดโยงกับประชาชน โครงสร้างที่เป็นมากว่าแปดปี ทำให้บุคคลที่ดำรงตำแหน่งในองค์กรสำคัญล้วนต้องผ่านตะแกรงคัดกรองจากสภาแต่งตั้ง
2 วีรกรรม กกต. สร้างความสับสนในการเลือกตั้งกรุงเทพฯ เมืองพัทยา
อ่าน

2 วีรกรรม กกต. สร้างความสับสนในการเลือกตั้งกรุงเทพฯ เมืองพัทยา

แม้ว่าการเลือกตั้งกรุงเทพมหานครและเมืองพัทยาครั้งแรกตั้งแต่การรัฐประหารในปี 2557 จะจบลงไปแล้ว แต่การทำหน้าที่ของคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) ผู้เป็นหัวเรือในการจัดการเลือกตั้งท้องถิ่นครั้งนี้ยังคงสร้างคำถามให้กับประชาชน ย้อนดูวีรกรรมของ กกต. ในการเลือกตั้งท้องถิ่นเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2565 ที่ผ่านมา
เสวนา NPO101 : ภาคประชาชนรับเงินต่างชาติแล้วทำงานอย่างไร
อ่าน

เสวนา NPO101 : ภาคประชาชนรับเงินต่างชาติแล้วทำงานอย่างไร

25 พฤษภาคม 2565 เครือข่ายคัดค้านพ.ร.บ.ควบคุมการรวมกลุ่มฯ จัดงานเสวนาในหัวข้อภาคประชาชนทำงานอย่างไร ทำไมต้องรับทุนไทย-ต่างชาติ เพื่ออธิบายให้ประชาชนและรัฐบาล เข้าใจมากขึ้นว่า “ทุนต่างประเทศ” ไม่ได้หมายความว่าการบ่อนทำลายชาติหรือการแทรกแซงทางการเมือง
ประชุมสภา: จับตากฎหมายค้างท่อ อย่างน้อย 40 ฉบับ
อ่าน

ประชุมสภา: จับตากฎหมายค้างท่อ อย่างน้อย 40 ฉบับ

ในการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ยังมีร่างกฎหมายอีกจำนวนที่ยังรอให้ผู้แทนราษฎรพิจารณา และยังมีร่างกฎหมายถึง 10 ฉบับที่คณะรัฐมนตรี (ครม.) ใช้เทคนิคถ่วงเวลา ขอนำร่างกฎหมายไปศึกษาก่อน 60 วัน เช่น #สมรสเท่าเทียม #สุราก้าวหน้า ซึ่งร่างกฎหมายทั้ง 10 ฉบับนั้นยังต้องรอให้สภาผู้แทนราษฎรลงมติว่าจะ “รับหลักการ” หรือไม่ 
8 ปี คสช. วางเครือข่ายนักการเมืองแต่งตั้งคุมประเทศ
อ่าน

8 ปี คสช. วางเครือข่ายนักการเมืองแต่งตั้งคุมประเทศ

22 พฤษภาคม 2565 ครบรอบแปดรัฐประหารโดย คสช. ตัวผู้นำ คสช. ทั้งพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา, พลเอกประวิตร วงษ์สุวรรณ และพลเอกอนุพงษ์ เผ่าจินดา ยังคงถืออำนาจในการปกครองประเทศไทยอยู่ รวมทั้งเครือข่ายที่ถูก คสช.แต่งตั้ง ก็ยังคงมีบทบาทกระจายกันไปตามองค์กรต่างๆ