สภาหุ่นยนต์! ส.ว.แต่งตั้ง ผ่านกฎหมายอย่างน้อย 40 ฉบับ โหวตทางเดียวกันไม่แตกแถวถึง 98%
อ่าน

สภาหุ่นยนต์! ส.ว.แต่งตั้ง ผ่านกฎหมายอย่างน้อย 40 ฉบับ โหวตทางเดียวกันไม่แตกแถวถึง 98%

ตามรัฐธรรมนูญ ปี 2560 วุฒิสภาในฐานะอำนาจฝ่ายนิติบัญญัติมีหน้าที่สำคัญประการหนึ่ง คือ "การกลั่นกรองกฎหมาย" ที่มาจากสภาผู้แทนราษฎรให้มีความรัดกุมรอบคอบ โดยหลังจากที่สภาผู้แทนราษฎรให้ความเห็นชอบกฎหมายแล้ว จะต้องส่งให้วุฒิสภาพิจารณาให้ความเห็นชอบอีกครั้ง เพื่อให้เกิดการตรวจสอบถ่วงดุลอีกหนึ่งชั้นก่อนที่กฎหมายจะมีผลบังคับใช้ แต่ทว่า ด้วยที่มาของสมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) ตามรัฐธรรมนูญ ปี 2560 ที่กำหนดให้คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) เป็นคนคัดเลือกด่านสุดท้าย ทำให้การออกกฎหมายที่เสนอโดยรัฐบาลคสช. หรือ การเสนอกฎหมายโดยคณะรัฐมนตรี (ครม.) ที่นำโดย พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา อดีตหัวหน้าคสช. ไม่ค่อยถูกตรวจสอบถ่วงดุลเท่าที่ควร
90 ปี อภิวัฒน์สยาม: พระราชอำนาจจากรัฐธรรมนูญฉบับแรกจนถึงฉบับปัจจุบัน
อ่าน

90 ปี อภิวัฒน์สยาม: พระราชอำนาจจากรัฐธรรมนูญฉบับแรกจนถึงฉบับปัจจุบัน

หลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง 24 มิ.ย. 2475  รัฐธรรมนูญแต่ละฉบับ จัดสรรพื้นที่ของพระราชอำนาจแตกต่างกัน บางฉบับกำหนดพระราชอำนาจบางเรื่องไว้จำกัด บางฉบับกำหนดแตกต่างจากรัฐธรรมนูญฉบับอื่นๆ อย่างมีนัยสำคัญ จนน่าตั้งคำถามว่า 90 ปีที่ผ่านมา ประเทศไทยอยู่ภายใต้ระบอบประชาธิปไตยตามที่คณะราษฎรวาดฝันไว้หรือไม่
เทียบ “พ.ร.บ.ทรัพย์สินฯ 4 ฉบับ” พระราชอำนาจกษัตริย์เพิ่มขึ้นอย่างไรบ้าง?
อ่าน

เทียบ “พ.ร.บ.ทรัพย์สินฯ 4 ฉบับ” พระราชอำนาจกษัตริย์เพิ่มขึ้นอย่างไรบ้าง?

นับตั้งแต่ปี 2475 “พ.ร.บ.จัดระเบียบทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์” ถูกแก้ไขปรับปรุงมาแล้วอย่างน้อยสี่ครั้งในประเด็นต่างๆ ในวาระครบรอบ 90 ปีการอภิวัตน์สยาม ไอลอว์ชวนย้อนดูสาระสำคัญของการเปลี่ยนแปลงแต่ละครั้ง ภายใต้ช่วงเวลาและเหตุการณ์ทางการเมืองที่ผ่านมา  
90 ปี กษัตริย์ใต้รัฐธรรมนูญ: ยิ่งลบยิ่งจำ – ทบทวนการอุ้มหายสัญลักษณ์คณะราษฎร การคุกคามคนติดตามของหาย และการคืนชีวิตให้คณะราษฎร
อ่าน

90 ปี กษัตริย์ใต้รัฐธรรมนูญ: ยิ่งลบยิ่งจำ – ทบทวนการอุ้มหายสัญลักษณ์คณะราษฎร การคุกคามคนติดตามของหาย และการคืนชีวิตให้คณะราษฎร

การอภิวัฒน์สยาม 24 มิถุนายน 2475 เดินทางมาถึงขวบปีที่ 90 ในวันที่ 24 มิถุนายน 2565 การเปลี่ยนแปลงการปกครองน่าจะถือเป็นหนึ่งในเหตุการณ์ที่มีความสำคัญอันดับต้นๆ ต่อประวัติศาสตร์การเมืองไทยเพราะมันได้พลิกโฉมของประเทศไปอย่างมีนัยยะสำคัญ ทว่าในโอกาสพิเศษเช่นนี้กลับไม่มีความเคลื่อนไหวจากทางราชการว่าจะจัดงานรำลึกใดๆ ซึ่งอาจไม่ผิดคาดนักเพราะนับจากที่ในปี 2503 ที่จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์เปลี่ยนวันชาติจากวันที่ 24 มิถุนายน ไปเป็นวันพระราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่เก้าและยังคงเป็นวันชาติเรื่อยมา เรื่องราวของการอภิวัฒน์ 2475 ค่อยๆเล
ปัดฝุ่นเช็ค “เก้าอี้” วุฒิสภา: การสิ้นสภาพ ส.ว. เกิดจากอะไรบ้าง?
อ่าน

ปัดฝุ่นเช็ค “เก้าอี้” วุฒิสภา: การสิ้นสภาพ ส.ว. เกิดจากอะไรบ้าง?

นับแต่มีการประกาศรายชื่อ ส.ว. ทั้ง 250 คน ครั้งแรกเมื่อ 14 พ.ค. 62 หากนำมาเปรียบเทียบกับรายชื่อผู้ดำรงตำแหน่งในปัจจุบัน (มิถุนายน 2565) ก็จะพบว่ามีหน้าตาที่เปลี่ยนไปเล็กน้อย เนื่องจากมี ส.ว. ที่พ้นจากตำแหน่งด้วยสาเหตุที่แตกต่างกันออกไป ไอลอว์ชวนย้อนดูการสลับเปลี่ยนของ “เก้าอี้ ส.ว.” พร้อมสำรวจข้อกฎหมายว่าการสิ้นสภาพ ส.ว. สามารถเกิดขึ้นจากสาเหตุใดได้บ้าง
แก้รัฐธรรมนูญ: เหลียวหลังแลหน้าข้อเสนอ “ปิดสวิตซ์ ส.ว.”
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ: เหลียวหลังแลหน้าข้อเสนอ “ปิดสวิตซ์ ส.ว.”

19 มิถุนายน 2565 มูลนิธิอาสาสมัครนักสิทธิมนุษยชน และอาสาสมัครนักสิทธิมนุษยชน จัดวงเสวนาในหัวข้อ "เอาไงต่อกับมาตรา 272: หนทางข้างหน้าสู่การปิดสวิตซ์ ส.ว.เลือกนายก" 
ปิยบุตรรายงานตัวคดีม. 112 ยันทวีตปฏิรูปสถาบันฯ ไม่ผิดกฎหมาย
อ่าน

ปิยบุตรรายงานตัวคดีม. 112 ยันทวีตปฏิรูปสถาบันฯ ไม่ผิดกฎหมาย

20 มิถุนายน 2565 รศ.ดร.ปิยบุตร แสงกนกกุล เลขาธิการคณะก้าวหน้านัดหมายเข้ารายงานตัวต่อพนักงานสอบสวนสน.ดุสิต ในคดีตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 โดยคดีนี้มีผู้ร้องทุกข์คือ เทพมนตรี ลิมปพยอม บรรยากาศตั้งแต่เวลา 8.45 น. ที่หน้าสน.ดุสิตมีประชาชน, ส.ส.พรรคก้าวไกล และทีมงานคณะก้าวหน้าจังหวัดต่างๆ ประมาณ 50 คน มาร่วมให้กำลังใจ รวมทั้งยังมีกลุ่มเคลื่อนไหวอิสระตั้งโต๊ะเชิญชวน ลงชื่อยกเลิกมาตรา 112 ขณะที่ตำรวจมีการกั้นแผงเหล็กและวางกำลังที่ด้านหน้าทางเข้าสน. ต่อมาเวลา 10.00 น.
90 ปี อภิวัฒน์สยาม: ยิ่งลบยิ่งจำ – ทบทวนการอุ้มหายสัญลักษณ์คณะราษฎร การคุกคามคนติดตามของหาย และการคืนชีวิตให้คณะราษฎร
อ่าน

90 ปี อภิวัฒน์สยาม: ยิ่งลบยิ่งจำ – ทบทวนการอุ้มหายสัญลักษณ์คณะราษฎร การคุกคามคนติดตามของหาย และการคืนชีวิตให้คณะราษฎร

ตั้งแต่ปี 2560 สัญลักษณ์แวดล้อมประวัติศาสตร์คณะราษฎร เช่น หมุดคณะราษฎร อนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรรมนูญ และ รูปปั้นจอมพล.ป. พิบูลสงคราม ที่วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรถูกย้ายหรือสูญหาย ขณะที่คนที่ไปติดตามเรื่องการสูญหายของสิ่งปลูกสร้างหรือสิ่งของดังกล่าวกับถูกเจ้าหน้าที่ติดตามคุกคาม แต่ดูเหมือนว่าความพยายามลบประวัติศาสตร์ยุคคณะราษฎรดูจะไม่ได้ทำให้มันถูกลืมหากแต่นำไปสู่การสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ
แก้รัฐธรรมนูญ: เพื่อไทยเสนอ “นายกฯ ต้องเป็น ส.ส.”-เพิ่มกลไกคุ้มครองสิทธิหลายประเด็น
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ: เพื่อไทยเสนอ “นายกฯ ต้องเป็น ส.ส.”-เพิ่มกลไกคุ้มครองสิทธิหลายประเด็น

พรรคเพื่อไทยยังไม่ยอมแพ้ใช้ช่องทางการเสนอแก้ไขรัฐธรรมนูญเสนอร่างอีกสามฉบับ เปิดประตูภาคสี่ โดยมีหนึ่งฉบับที่เป็นประเด็นใหม่เกี่ยวกับสิทธิชุมชน ฉบับหนึ่งเสนอเพิ่มสิทธิในกระบวนการยุติธรรม สิทธิคนพิการ สิทธิคนไร้บ้าน และยกเลิกช่องทางนายกฯคนนอก ซึ่งเคยเสนอไม่ผ่านมาแล้ว
สำนักเลขาธิการ ส.ว. ปฏิเสธไม่ให้ข้อมูลคณะทำงาน ส.ว. ไอลอว์พร้อมอุทธรณ์
อ่าน

สำนักเลขาธิการ ส.ว. ปฏิเสธไม่ให้ข้อมูลคณะทำงาน ส.ว. ไอลอว์พร้อมอุทธรณ์

สำนักเลขาธิการวุฒิสภาได้ส่งหนังสือตอบกลับมีใจความปฏิเสธการร้องขอข้อมูลคณะทำงานของ ส.ว. โดยอ้างว่าเป็นข้อมูลส่วนบุคคล โดยไอลอว์จะยื่นอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารต่อไป