สุดสัปดาห์สุดท้ายของนิทรรศการ “ซ่อน(ไม่)หา(ย) – Presumption of Innocence”
อ่าน

สุดสัปดาห์สุดท้ายของนิทรรศการ “ซ่อน(ไม่)หา(ย) – Presumption of Innocence”

ชวนทุกคนมาร่วมพูดคุยเพื่อส่งเสียงให้เรื่องราวที่ถูก “ซ่อน” ไม่ “หาย” ไปจากสังคมผ่านสองวงพูดคุยคือ เส้นทางนิรโทษกรรมทางการเมืองและคดีมาตรา 112 และชีวิตคนถูก “ซ่อน” และการต่อสู้เพื่อไม่ “หาย” ไปจากสังคม
เปิดข้อเท็จจริงตากใบ 2547 ปราบผู้ชุมนุมมือเปล่าด้วย “กระสุนจริง” ขนคนซ้อนจนขาดใจตาย
อ่าน

เปิดข้อเท็จจริงตากใบ 2547 ปราบผู้ชุมนุมมือเปล่าด้วย “กระสุนจริง” ขนคนซ้อนจนขาดใจตาย

ย้อนอ่านข้อเท็จจริงเหตุการณ์ตากใบ 2547 ผ่านรายงานการศึกษาของกมธ.วุฒิสภา ระบุผู้ชุมนุมใช้เสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ แต่รัฐ “ปักใจ” เชื่อว่า จะมีเหตุความไม่สงบ ธงจึงไม่ใช่การเจรจาอย่างสันติแต่คือ การล้อมปราบและจับกุม เป็นเหตุให้มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 85 คน
จับตา! สภานัดรับรองรายงาน กมธ. นิรโทษกรรมต่อ หลังรองประธานสภาชิงปิดประชุมยืดเวลา
อ่าน

จับตา! สภานัดรับรองรายงาน กมธ. นิรโทษกรรมต่อ หลังรองประธานสภาชิงปิดประชุมยืดเวลา

24 ตุลาคม 2567 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร นัดลงมติรับรองรายงานของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาแนวทางการตราพระราชบัญญัตินิรโทษกรรม (กมธ. นิรโทษกรรม) อีกครั้ง หลังพิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน รองประธานสภาคนที่หนึ่งในฐานะประธานในที่ประชุมสั่งปิดประชุมระหว่างที่กำลังอภิปรายในการประชุมเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม 2567
“รายงานฟังความเห็นร่าง พ.ร.บ.นิรโทษกรรมปชช.” ส่วนใหญ่เห็นควรนิรโทษกรรมลดความขัดแย้ง สถาบันพระปกเกล้าฯ เห็นต่างค้านทุกประเด็น  
อ่าน

“รายงานฟังความเห็นร่าง พ.ร.บ.นิรโทษกรรมปชช.” ส่วนใหญ่เห็นควรนิรโทษกรรมลดความขัดแย้ง สถาบันพระปกเกล้าฯ เห็นต่างค้านทุกประเด็น  

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรเปิดรับฟังความคิดเห็นร่างนิรโทษกรรมประชาชน ผู้ที่เห็นด้วยมองว่า เกือบ 20 ปีที่ผ่านมามีการดำเนินคดีต่อผู้ใช้เสรีภาพ มีการใช้กฎหมายอย่างไม่เป็นธรรมและกลั่นแกล้งทางการเมืองจึงเห็นควรให้มีการนิรโทษกรรม ขณะที่ฝ่ายไม่เห็นด้วยมองว่า ผู้ที่กระทำความผิดควรได้รับผลจากการกระทำ
#ตากใบต้องไม่เงียบ เมื่อญาติผู้เสียชีวิตลุกขึ้นฟ้องนายทหารระดับสูง โดยแรงผลักจากคนรุ่นลูก
อ่าน

#ตากใบต้องไม่เงียบ เมื่อญาติผู้เสียชีวิตลุกขึ้นฟ้องนายทหารระดับสูง โดยแรงผลักจากคนรุ่นลูก

ชวนคนมาช่วยกันฉายภาพเหตุการณ์การสลายการชุมนุมตากใบ 25 ตุลาคม 2547 ในหลากหลายแง่มุม จาสถานการณ์ที่ผ่านมาเกือบ 20 ปี
ชวนมาท้าทายหัวสมอง ร่วมสนุกกันกับเกม “Intro to Conclusion of 112”
อ่าน

ชวนมาท้าทายหัวสมอง ร่วมสนุกกันกับเกม “Intro to Conclusion of 112”

iLaw รวบรวม และย่อยความรู้จากกติดตามการบังคับใช้มาตรา 112 นานกว่าสิบปี ออกมาเป็น “เกม” กับคำถาม 10 ข้อ ที่ชวนสมัครมาแสวงหาคำตอบและมาเล่นให้สนุกสนาน
กลไกพิเศษ UN อีกหนึ่งช่องทางส่งเรื่องสถานการณ์ละเมิดสิทธิมนุษยชน
อ่าน

กลไกพิเศษ UN อีกหนึ่งช่องทางส่งเรื่องสถานการณ์ละเมิดสิทธิมนุษยชน

เสียงจากคนทำงาน-นักกิจกรรมที่เคยใช้กลไกพิเศษ UN ร่วมพูดคุยถึงกลไกดังกล่าว ยังมีประโยชน์ต่อสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทยหรือไม่
ยืดเวลาออกไปอีก! พิเชษฐ์ รองประธานสภา ชิงปิดประชุมนัดรับรองรายงาน กมธ.นิรโทษกรรม
อ่าน

ยืดเวลาออกไปอีก! พิเชษฐ์ รองประธานสภา ชิงปิดประชุมนัดรับรองรายงาน กมธ.นิรโทษกรรม

17 ตุลาคม 2567 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร มีวาระพิจารณารับรองรายงานกมธ.นิรโทษกรรม แต่การประชุมครั้งนี้ยังไม่แล้วเสร็จ เนื่องจากพิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน รองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่หนึ่งซึ่งเป็นประธานในที่ประชุมสั่งปิดประชุมระหว่างที่มีการถกเถียงกันว่าสมควรให้กรรมาธิการชี้แจงต่อหรือไม่
Days in prison

Days in prison

นานแค่ไหนในห้องขัง สรุปข้อมูลผู้ต้องขังคดีมาตรา 112 ทั้งที่กำลังรับโทษตามคำพิพากษาถึงที่สุดและยังต่อสู้คดีอยู่ และจำนวนวันที่ถูกคุมขังอย่างต่อเนื่อง อัพเดทข้อมูลรายวัน
กลไกสหประชาชาติ เป็นช่องทางสู่ความยุติธรรมได้หรือไม่?
อ่าน

กลไกสหประชาชาติ เป็นช่องทางสู่ความยุติธรรมได้หรือไม่?

กลไกสากลจะยังคงมีประโยชน์ต่อสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทยหรือไม่ หรือคนไทยจะเข้าถึงและใช้ประโยชน์กลไกเหล่านี้ได้อย่างไร ชวนร่วมพูดคุยแสดงความคิดเห็น และร่วมกิจกรรมเสวนาหัวข้อ กลไกสหประชาชาติ เป็นช่องทางสู่ความยุติธรรมได้หรือไม่?