“ไม่มีเหตุผลสิ้นดี”: มาตรา 112กับสิทธิการประกันตัว
อ่าน

“ไม่มีเหตุผลสิ้นดี”: มาตรา 112กับสิทธิการประกันตัว

เครือข่ายญาติและผู้ประสบภัยจากมาตรา 112 แถลงข่าวความคืบหน้าการดำเนินคดีต่อ สมยศ พฤกษาเกษมสุข อดีตบก. Voice of Taksin จำเลยคดี 112 และจัดเสวนาหาคำตอบว่า เหตุใดจำเลยคดี112 มักไม่ได้รับการประกันตัว อะไรคือมาตรฐานการให้ประกันตัวของไทย และการนักโทษ112 ในเรือนจำมีชะตากรรมอย่างไร
เมื่อมาตรา 112 ถูกใช้กับปัญหาในครอบครัว?
อ่าน

เมื่อมาตรา 112 ถูกใช้กับปัญหาในครอบครัว?

เดือนสิงหาคม 2556 ศาลชั้นต้นจะเริ่มสืบพยานคดีหมิ่นประมาทกษัตริย์อีกคดีหนึ่ง เป็นเรื่องราวของพี่ชายที่ฟ้องน้องชายฐานเขียนข้อความหมิ่นประมาทกษัตริย์ฯ ลงบนแผ่นซีดี และกล่าววาจาสบถขณะดูทีวี จำเลยคดีนี้มีชื่อว่า “ยุทธภูมิ” ปัจจุบัน แม้การพิจารณาคดีจะยังไม่เริ่มต้น แต่เขาไม่ได้รับอนุญาตให้ปล่อยตัวชั่วคราว และถูกควบคุมตัวอยู่ในเรือนจำพิเศษกรุงเทพฯ
ประเด็นในคำอุทธรณ์คดีสมยศ พฤกษาเกษมสุข
อ่าน

ประเด็นในคำอุทธรณ์คดีสมยศ พฤกษาเกษมสุข

ควรเห็นใจสมยศในฐานะบรรณาธิการ  ที่มิได้เป็นผู้เขียนบทความเอง  แต่ต้องมารับผิด  มิเช่นนั้นในอนาคต  หากมีผู้อื่นไม่ว่าหมิ่นประมาทใคร  ผู้ที่ไม่ได้เขียนก็ต้องรับผิดในข้อหานี้เช่นกัน ข้อกล่าวหาในคดีนี้คือ  จำเลยหมิ่นประมาท  ดูหมิ่น  และแสดงความอาฆาตมาดร้ายต่อองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ภูมิพลอดุลยเดช ด้วยการจัดพิมพ์  จัดจำหน่าย  และเผยแพร่
No ‘reasonable person’ in criminal law: an analysis of the verdict in the case of Ekkachai the CD Seller
อ่าน

No ‘reasonable person’ in criminal law: an analysis of the verdict in the case of Ekkachai the CD Seller

On 28 March 2013, the Criminal Court read its verdict sentencing Ekkachai H. to five years’ imprisonment and a 100,000 baht fine. Because the defendant’s testimony was useful, the court reduced the sentence by a third, to three years and four months in jail and a 66,666 baht fine. Ekkachai was found guilty, firstly under Article 112 of the Criminal Code, for defaming, insulting or threatening the Heir Apparent, and secondly under Articles 53 and 82 of the 2008 Film and Video Act, for selling videos without the permission of the registrar.
ไม่มี “วิญญูชน” ในกฎหมายอาญา : วิเคราะห์คำพิพากษาคดีเอกชัย คนขายซีดี
อ่าน

ไม่มี “วิญญูชน” ในกฎหมายอาญา : วิเคราะห์คำพิพากษาคดีเอกชัย คนขายซีดี

  28 มีนาคม 2556 ศาลอาญา อ่านคำพิพากษาตัดสินจำคุกนายเอกชัย 5 ปี ปรับ 100,000 บาท เนื่องจากทางนำสืบของจำเลยเป็นประโยชน์ ลดโทษให้หนึ่งในสาม เหลือ จำคุก 3 ปี 4 เดือน ปรับ 66,666 บาท ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 ฐานหมิ่นประมาท ดูหมิ่น หรือแสดงความอาฆาตมาดร้ายรัชทายาท และตามพระราชบัญญัติภาพยนตร์และวีดิทัศน์ พ.ศ.2551 มาตรา 53 ประกอบมาตรา 82 ฐานประกอบธุรกิจจำหน่ายวีดิทัศน์โดยไม่ได้รับอนุญาตจากนายทะเบียน
ครก.112 แถลงโต้ประธานสภาฯ ม.112 เป็นเรื่องสิทธิเสรีภาพของปชช.
อ่าน

ครก.112 แถลงโต้ประธานสภาฯ ม.112 เป็นเรื่องสิทธิเสรีภาพของปชช.

ครก.112 เตรียมส่งหนังสือโต้แย้งคำสั่งประธานรัฐสภา ชี้ม.112 เกี่ยวกับสิทธิเสรีภาพ การเสนอแก้ไขกฎหมายหมิ่นกษัตริย์ฯ ไม่ใช่เปิดให้แสดงความเห็นตามอำเภอใจ แต่เพื่อรักษาสถานะกษัตริย์ พร้อมอุทธรณ์คำสั่ง ให้รัฐสภารับคำข้อเสนอเพื่อแก้ไขมาตรา 112 ของประชาชน
มองบรรทัดฐานจากศาล ในคำพิพากษาคดีสมยศ
อ่าน

มองบรรทัดฐานจากศาล ในคำพิพากษาคดีสมยศ

สมยศ พฤกษาเกษมสุข ถูกตัดสินจำคุก 10 ปี ตามมาตรา112  เพราะเป็นบรรณาธิการนิตยสารที่ตีพิมพ์บทความสองบท คำพิพากษาของศาลบอกเราว่า ข้อความใด“หมิ่นฯ”หรือไม่นั้นโจทก์และจำเลยต้องนำสืบ และศาลยืนยันว่าบรรณาธิการสิ่งพิมพ์ต้องรับผิดในเนื้อหา
ศาลรธน.มีมติเอกฉันท์ ม. 112 ไม่ขัดรธน.
อ่าน

ศาลรธน.มีมติเอกฉันท์ ม. 112 ไม่ขัดรธน.

ศาลรัฐธรรมนูฐมีมติเอกฉันท์ มาตรา 112 ไม่ขัดรัฐธรรมนูญ ระบุเป็นกฎหมายเพื่อความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดี ตามหลักนิติธรรมที่เป็นศีลธรรมหรือจริยธรรมของกฎหมาย อัตราโทษเหมาะสมได้สัดส่วน และย้ำว่าการกระทำขัดม. 112 ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของรัฐได้จริง
อ่าน

ครก.ยื่น 26,968 รายชื่อแก้ไขม.112 ต่อสภา

"ชาญวิทย์" นำทีม ครก.112 เดินขบวนจากหมุดคณะราษฎรมาหน้ารัฐสภา ยื่น 26,968 รายชื่อต่อรัฐสภา เสนอแก้ไขมาตรา 112 ตามข้อเสนอ 7 ประเด็นของคณะนิติราษฎร์ 
ลงชื่อ เพื่อแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายอาญามาตรา 112 ตามข้อเสนอคณะนิติราษฎร์
อ่าน

ลงชื่อ เพื่อแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายอาญามาตรา 112 ตามข้อเสนอคณะนิติราษฎร์

คณะนิติราษฎร์ ซึ่งประกอบด้วยคณาจารย์จากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้แก่ วรเจตน์ ภาคีรัตน์, ฐาปนันท์ นิพิฏฐกุล, ธีระ สุธีวรางกูร, สาวตรี สุขศรี, ปิยบุตร แสงกนกกุล, จันทจิรา เอี่ยมยุรา เคยแถลงข้อเสนอเพื่อแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายเกี่ยวกับความผิดฐานหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ หรือกฎหมายอาญามาตรา 112