นักวิชาการกะเทาะเพลง “ประเทศกูมี” ชี้สะท้อนสังคมและไม่สะเทือนความมั่นคงของประเทศ
อ่าน

นักวิชาการกะเทาะเพลง “ประเทศกูมี” ชี้สะท้อนสังคมและไม่สะเทือนความมั่นคงของประเทศ

จากกรณีที่พล.ต.อ.ศรีวราห์ รังสิพราหมณกุล รองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ออกมาให้สัมภาษณ์สื่อถึงการตรวจสอบเพลงประเทศกูมีของ Rap against dictatorship (RAD) ว่า เข้าข่ายผิดกฎหมายใดหรือไม่ นำไปสู่การวิพากษ์วิจารณ์ในสังคมถึงการบังคับใช้กฎหมาย โดยเหล่านักวิชาการร่วมกะเทาะบทเพลงขบถต่อต้านรัฐอย่าง "ประเทศกูมี" ว่า เหตุใดจึงสร้างแรงกระเพื่อมให้แก่สังคมไทยมากเช่นนี้ ขณะเดียวกันก็พาย้อนกลับไปในประวัติศาสตร์บทเพลงขบถ และวิเคราะห์การเผยแพร่เพลงในแง่มุมของกฎหมายที่ไม่ว่าทางใดก็ไม่มีทางขัดต่อกฎหมายได้
จุดเริ่มต้นของเพลงประเทศกูมีและการดันเพดานเสรีภาพในการแสดงออก
อ่าน

จุดเริ่มต้นของเพลงประเทศกูมีและการดันเพดานเสรีภาพในการแสดงออก

จากกรณีที่พล.ต.อ.ศรีวราห์ รังสิพราหมณกุล รองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ออกมาให้สัมภาษณ์สื่อถึงการตรวจสอบเพลงประเทศกูมีของ Rap against dictatorship (RAD) ว่า เข้าข่ายผิดกฎหมายใดหรือไม่ นำไปสู่การวิพากษ์วิจารณ์ในสังคมถึงการบังคับใช้กฎหมาย โดย RAD ได้เปิดเผยที่มาที่ไปของเพลงดังกล่าว
โพสต์-แชร์ เพลง “ประเทศกูมี” อาจไม่ผิดเพราะไม่ใช่ “ข้อมูลเท็จ” ย้อนดูคำพิพากษา พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ คุ้มครองการแสดงความเห็นบนข้อเท็จจริง
อ่าน

โพสต์-แชร์ เพลง “ประเทศกูมี” อาจไม่ผิดเพราะไม่ใช่ “ข้อมูลเท็จ” ย้อนดูคำพิพากษา พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ คุ้มครองการแสดงความเห็นบนข้อเท็จจริง

26 ตุลาคม 2561 พ.ต.อ.ศิริวัฒน์ ดีพอ ผู้กำกับการ 3 กองบังคับการป้องกันและปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเทคโนโลยี หรือ ปอท. กล่าวว่า มิวสิกวิดีโอเพลง “ประเทศกูมี” แนวเสียดสีสังคมของกลุ่มแร็ปเปอร์ ‘Rap Against Dictatorship’ น่าจะเข้าข่ายผิดตามพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ มาตรา 14 (2) ซึ่งเป็นการนำเข้าข้อมูลอันเป็นเท็จสู่ระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งทำให้เกิดความเสียหายต่อความมั่นคงฯ การออกมาให้ความเห็นของเจ้าหน้าที่ตำรวจในลักษณะนี้ย่อมสร้างความหวาดกลัวให้กับผู้ที่แสดงความเห็น หรือผู้ที่แชร์เพลงดังกล่าวบนโลกออนไลน์ ซึ่งไอลอว์อยากหยิบตัวบทกฎหมายมากางกันดูให้ชัดๆ พร้อมทั้งหยิบคำพิพากษาในคดีลักษณะคล้ายกันมาแสดงเป็นตัวอย่าง เพื่อประกอบการแสดงความคิดเห็น ให้ทุกคนลองพิจารณาเองว่า การโพสต์หรือแชร์อย่างไรจะผิดกฎหมายหรือไม่ผิด
อ่าน

พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ 2560: กฎหมายใหม่แต่ยังถูกใช้ปิดปากเหมือนเดิม

พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2560 แก้ไขใหม่เพื่อป้องกันการนำ พ.ร.บ.คอมฯ มาใช้ฟ้องหมิ่นประมาทกับประชาชน แต่ยังถูกนำมาใช้ดำเนินคดีกับประชาชนเหมือนเดิม โดยเฉพาะกลุ่มคนที่ออกมาวิพากษ์วิจารณ์การทำงานของรัฐบาล    
กรณีตบหน้าสู่ฆาตฯวิสามัญ: ความรุนแรงที่แฝงเร้นลอยนวล
อ่าน

กรณีตบหน้าสู่ฆาตฯวิสามัญ: ความรุนแรงที่แฝงเร้นลอยนวล

หลังดอยหลวงเชียงดาวอันสวยงาม ยังมีกรณีการใช้ความรุนแรงต่อกลุ่มชาติพันธ์เสมอมา ซึ่งชัยภูมิ ป่าแส ไม่ใช่กรณีแรกและอาจจะไม่ใช่กรณีสุดท้าย
#พรบคอม แก้ไขใหม่แล้ว คดี “ปิดปาก” มีแต่แนวโน้มจะเพิ่มขึ้น
อ่าน

#พรบคอม แก้ไขใหม่แล้ว คดี “ปิดปาก” มีแต่แนวโน้มจะเพิ่มขึ้น

ข้อเรียกร้องให้แก้ไขมาตรา 14(1) ของพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ได้รับการตอบสนองโดยสนช. แต่การแก้ไขกฎหมาย ในปี 2559 กลับดูเหมือนยังแก้ปัญหาที่กฎหมายถูกใช้เป็นเครื่องมือ “ปิดปาก” การตรวจสอบ ไม่ได้มากนัก แถมยังอาจสร้างปัญหาให้หนักขึ้นกว่าเก่าก็เป็นได้ พอจะเรียกได้ว่า การแก้ไขมาตรา 14(1) ในครั้งนี้ ดีขึ้น 3 ประเด็น แย่ลง 1 ประเด็น และ “เล่นลิเก” อีก 1 ประเด็น
ตารางคดี “ปิดปาก” นักเคลื่อนไหว ด้วยพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ มาตรา 14(1)
อ่าน

ตารางคดี “ปิดปาก” นักเคลื่อนไหว ด้วยพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ มาตรา 14(1)

ตารางคดี “ปิดปาก” นักเคลื่อนไหว ด้วย พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ มาตรา 14(1)
อ่าน

“ข้อมูลเท็จ” #พรบคอม ฉบับใหม่ สื่อเสี่ยงถูกปิดกั้นการรายงานข่าว แนวโน้มใหม่ที่ไม่สามารถเลี่ยงข้อกล่าวหาได้

เวทีเสวนาวิชาการสะท้อน ในร่าง #พรบคอมฯ ฉบับใหม่ ข้อกล่าวหาเสนอ “ข้อมูลเท็จ” เป็นแน้วโน้มที่สื่อไม่สามารถเลี่ยงได้ นักสิทธิมนุษยชนมีข้อกังวลคำว่า “ศีลธรรมอันดี-ความมั่นคงของชาติ” ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของคณะกรรมการ 9 คน
หวั่นมาตรา 15 พ.ร.บ.คอมฯ ใหม่ เปิดช่องคู่แข่งออนไลน์กลั่นแกล้งกัน
อ่าน

หวั่นมาตรา 15 พ.ร.บ.คอมฯ ใหม่ เปิดช่องคู่แข่งออนไลน์กลั่นแกล้งกัน

วงเสวนาชี้ร่างแก้ไข พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ยังคลุมเครือในข้อกฎหมาย-ขอบเขตอำนาจเจ้าหน้าที่ มาตรา 15 ใหม่เขียนมาคุ้มครองผู้ให้บริการ แต่ยังเปิดช่องให้คู่แข่งทางการค้ากลั่นแกล้งรีพอร์ตกัน ไม่เอื้อประโยชน์ผู้ประกอบธุรกิจออนไลน์
ทวิตเตอร์: พื้นที่สร้างตัวตน ต่อต้านบรรทัดฐานทางสังคมของกลุ่มเกย์
อ่าน

ทวิตเตอร์: พื้นที่สร้างตัวตน ต่อต้านบรรทัดฐานทางสังคมของกลุ่มเกย์

เสวนาเรื่อง มองปรากฏการณ์เรื่องเพศในสังคมไทย ปี 2559 เสนอประเด็นเกี่ยวกับพื้นที่และตัวตนของกลุ่มเกย์ในทวิตเตอร์ ที่มีการเผยแพร่คลิปความสัมพันธ์ระหว่างชายกับชาย การขายเซ็กส์ผ่านไลน์สร้างรายได้ และการต่อต้านบรรทัดฐานทางสังคม