รับมือโควิด 19 แบบไทยๆ ด้วยการออกกฎและ “ข่มขู่”
อ่าน

รับมือโควิด 19 แบบไทยๆ ด้วยการออกกฎและ “ข่มขู่”

ที่ผ่านมาระหว่างการต่อสู้กับโรคโควิด 19 ด้วยกฎหมายและเครื่องมือใหม่ๆ แนวทางที่บุคลากรของภาครัฐปฏิบัติอย่างต่อเนื่องกัน คือ การแสดงออกในลักษณะ "ข่มขู่" หรือสร้างความหวาดกลัวให้แก่ประชาชน การข่มขู่อาจมาในลักษณะคำพูดที่สร้างความไม่มั่นคงให้แก่หน้าที่การงาน หรือการเตือนว่า การกระทำที่สวนทางกับรัฐอาจนำมาซึ่งการดำเนินคดีตามกฎหมาย
ความผิด พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ต้องเผยแพร่ “ข้อมูลเท็จ” การแชร์ของ “แหม่มโพธิ์ดำ” ถ้าไม่มีเจตนาทุจริต ก็ไม่ผิด
อ่าน

ความผิด พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ต้องเผยแพร่ “ข้อมูลเท็จ” การแชร์ของ “แหม่มโพธิ์ดำ” ถ้าไม่มีเจตนาทุจริต ก็ไม่ผิด

จากข่าวที่เจ้าหน้า…
ย้อนดูเทรนด์การให้-ไม่ให้ประกันตัวผู้วิจารณ์พระมหากษัตริย์ฯ ของศาลไทย
อ่าน

ย้อนดูเทรนด์การให้-ไม่ให้ประกันตัวผู้วิจารณ์พระมหากษัตริย์ฯ ของศาลไทย

ระหว่างการรัฐประหาร 2557 การใช้มาตรา 112 และการไม่ให้ประกันตัวเป็นเรื่องที่เห็นบ่อยครั้ง ก่อนจะผ่อนคลายในช่วงปี 2561-2562 จากนั้นกลับมาสู่บรรยากาศแห่งความหวาดกลัวอีกครั้งในปี 2563
พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ มาตรา 14(3) เวอร์ชั่นใหม่ความผิดหมิ่นกษัตริย์ฯ แทนที่ ม.112
อ่าน

พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ มาตรา 14(3) เวอร์ชั่นใหม่ความผิดหมิ่นกษัตริย์ฯ แทนที่ ม.112

มาตรา 14(3) ถูกตำรวจนำมาตั้งข้อกล่าวหาคดีเพียงข้อหาเดียว โดยไม่ตั้งข้อหาตามหมวดความมั่นคงหรือหมวดก่อการร้ายในประมวลกฎหมายอาญาประกอบด้วย ทำให้มาตรา 14(3) มีสถานะขึ้นมาใช้แทนที่มาตรา 112 เดิมที่ช่วงหลังถูกใช้น้อยลง
มรดก คสช. ที่ยังเหลืออยู่ สั่งปิดเว็บไซต์-เข้าถึงข้อมูลไม่ต้องขอหมายศาล
อ่าน

มรดก คสช. ที่ยังเหลืออยู่ สั่งปิดเว็บไซต์-เข้าถึงข้อมูลไม่ต้องขอหมายศาล

ประกาศ คสช. 26/2557 ยังไม่ถูกยกเลิก คสช.จงใจคงอำนาจนี้ไว้ให้มีคณะทำงานตรวจสอบข้อมูลการใช้อินเทอร์เน็ต และสั่งปิดกั้นเว็บไซต์ได้ โดยไม่ต้องมีกระบวนการตรวจสอบโดยอำนาจศาล
นักวิชาการกะเทาะเพลง “ประเทศกูมี” ชี้สะท้อนสังคมและไม่สะเทือนความมั่นคงของประเทศ
อ่าน

นักวิชาการกะเทาะเพลง “ประเทศกูมี” ชี้สะท้อนสังคมและไม่สะเทือนความมั่นคงของประเทศ

จากกรณีที่พล.ต.อ.ศรีวราห์ รังสิพราหมณกุล รองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ออกมาให้สัมภาษณ์สื่อถึงการตรวจสอบเพลงประเทศกูมีของ Rap against dictatorship (RAD) ว่า เข้าข่ายผิดกฎหมายใดหรือไม่ นำไปสู่การวิพากษ์วิจารณ์ในสังคมถึงการบังคับใช้กฎหมาย โดยเหล่านักวิชาการร่วมกะเทาะบทเพลงขบถต่อต้านรัฐอย่าง "ประเทศกูมี" ว่า เหตุใดจึงสร้างแรงกระเพื่อมให้แก่สังคมไทยมากเช่นนี้ ขณะเดียวกันก็พาย้อนกลับไปในประวัติศาสตร์บทเพลงขบถ และวิเคราะห์การเผยแพร่เพลงในแง่มุมของกฎหมายที่ไม่ว่าทางใดก็ไม่มีทางขัดต่อกฎหมายได้
จุดเริ่มต้นของเพลงประเทศกูมีและการดันเพดานเสรีภาพในการแสดงออก
อ่าน

จุดเริ่มต้นของเพลงประเทศกูมีและการดันเพดานเสรีภาพในการแสดงออก

จากกรณีที่พล.ต.อ.ศรีวราห์ รังสิพราหมณกุล รองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ออกมาให้สัมภาษณ์สื่อถึงการตรวจสอบเพลงประเทศกูมีของ Rap against dictatorship (RAD) ว่า เข้าข่ายผิดกฎหมายใดหรือไม่ นำไปสู่การวิพากษ์วิจารณ์ในสังคมถึงการบังคับใช้กฎหมาย โดย RAD ได้เปิดเผยที่มาที่ไปของเพลงดังกล่าว