พ่อยื่นประกันตะวัน-แฟรงค์ คดีบีบแตรใส่ตำรวจท้ายขบวนเสด็จ ศาลนัดฟังคำสั่งพรุ่งนี้ 13.30 น.
อ่าน

พ่อยื่นประกันตะวัน-แฟรงค์ คดีบีบแตรใส่ตำรวจท้ายขบวนเสด็จ ศาลนัดฟังคำสั่งพรุ่งนี้ 13.30 น.

สมหมาย ตัวตุลานนท์ พ่อของตะวัน-ทานตะวัน ตัวตุลานนท์ยื่นคำร้องต่อศาลอาญาขอให้ปล่อยตัวชั่วคราวตะวันและแฟรงค์-ณัฐนนท์ ไชยมหาบุตร โดยเป็นการยื่นคำร้องขอประกันตัวเป็นครั้งที่สาม โดยศาลนัดฟังคำสั่งวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา  13.30 น. ทั้งสองอดอาหารและน้ำเป็นวันที่ 11 แล้ว
“เป้าหมายยังไม่สำเร็จก็ไม่ทิ้งกัน” นักสู้ผู้ฝันอยากเป็นทนาย และคดีที่สองของมาตรา 112 ของก้อง อุกฤฏ์
อ่าน

“เป้าหมายยังไม่สำเร็จก็ไม่ทิ้งกัน” นักสู้ผู้ฝันอยากเป็นทนาย และคดีที่สองของมาตรา 112 ของก้อง อุกฤฏ์

พูดคุยกับ ก้อง-อุกฤฏ์ สันติประสิทธิ์กุล ผู้ถูกคดีมาตรา 112 คดีที่สอง และความฝันของตัวเองและประเทศไทยในอนาคต
นัดฟังคำพิพากษาคดีมาตรา 112 เดือนมกราคม 2567
อ่าน

นัดฟังคำพิพากษาคดีมาตรา 112 เดือนมกราคม 2567

เดือนมกราคม 2567 ศาลมีนัดฟังคำพิพากษาศาลชั้นต้น 4 คดี ศาลอุทธรณ์ 5 คดี และนัดพร้อมเพื่อฟังคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ ซึ่งอาจอ่านคำพิพากษาในวันเดียวกันได้ 1 คดี ดังนี้ •
จำคุกเก็ทอีกสามปีตาม ม.112 ยกฟ้อง “โจเซฟ” พูดเรื่องพระเจ้าตากสิน ศาลชี้ เป็นประวัติศาสตร์อีกมุมหนึ่ง
อ่าน

จำคุกเก็ทอีกสามปีตาม ม.112 ยกฟ้อง “โจเซฟ” พูดเรื่องพระเจ้าตากสิน ศาลชี้ เป็นประวัติศาสตร์อีกมุมหนึ่ง

27 ธันวาคม 2566 ศาลอาญาธนบุรีพิพากษาว่า โสภณ สุรฤทธิ์ธำรง หรือ เก็ท มีความผิดตามมาตรา 112 จากกรณีปราศรัย “ฟื้นฝอยหาตะเข็บ 240 ปี ใครฆ่าพระเจ้าตาก” เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2565 ที่อนุสาวรีย์พระเจ้าตากสิน วงเวียนใหญ่ ให้ลงโทษจำคุกสามปี ส่วนจำเลยอีกคน คือ “โจเซฟ” ศาลพิพากษายกฟ้อง เพราะเนื้อหาปราศรัยไม่เข้าข่ายความผิด ในวันอ่านคำพิพากษามีผู้มาให้กำลังใจและรับฟังคำพิพากษาด้วยเป็นจำนวนมาก เต็มห้องพิจารณาคดีที่ 11 ซึ่งทางศาลอาญาธนบุรีได้จัดถ่ายทอดสดการอ่านคำพิพากาษามายังห้อง 12 ด้วย เพื่อให้ผู้มาร่วมฟังคำพิพากษาเข้า
“การยุติการดำเนินคดีจากการแสดงความคิดเห็นของประชาชนคือประตูบานแรกในการแก้ไขข้อผิดพลาด” iLaw รับรางวัลจากกรรมการสิทธิฯ
อ่าน

“การยุติการดำเนินคดีจากการแสดงความคิดเห็นของประชาชนคือประตูบานแรกในการแก้ไขข้อผิดพลาด” iLaw รับรางวัลจากกรรมการสิทธิฯ

ตราบใดที่การพูดถึงปัญหาในประเทศอย่างตรงไปตรงมาและมีวุฒิภาวะเป็นสิ่งที่ทำไม่ได้ ตราบใดที่กฎหมายยังทำหน้าที่ข่มขู่สร้างความหวาดกลัว ไม่ได้ทำหน้าที่คุ้มครอง ปัญหาที่มีอยู่ทั้งหลายก็แก้ไขไปที่ต้นเหตุไม่ได้ การยุติและยกเลิกคดีความจากการแสดงความคิดเห็นของประชาชนทั้งหมด จึงถือเป็นประตูบานแรกที่จะทำให้การแก้ไขสิ่งที่ผิดพลาดทั้งหลายในประเทศนี้เป็นไปได้
ผู้ใดอยู่ในเรือนจำ : ผู้ต้องขังคดี 112 ในเดือนพฤศจิกายน 2566
อ่าน

ผู้ใดอยู่ในเรือนจำ : ผู้ต้องขังคดี 112 ในเดือนพฤศจิกายน 2566

ในรอบเดือนพฤศจิกายน 2566 มีผู้ต้องขังคดี มาตรา 112 อย่างน้อย 17 คนที่อยู่ในเรีอนจำหรือสถานพินิจ (กรณีคดีเยาวชน) ในแต่ละชั้นกระบวนการยุติธรรมแตกต่างกันไป
หมอเหวงถามรัฐบาลหากไม่เห็นประชาชนเป็นศัตรูต้องนิรโทษกรรม
อ่าน

หมอเหวงถามรัฐบาลหากไม่เห็นประชาชนเป็นศัตรูต้องนิรโทษกรรม

วันที่ 19 พฤศจิกายน 2566 นพ.เหวง โตจิราการ หรือหมอเหวง แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ กล่าวในเวทีเสวนา “ก้าวแรกอย่างไรในการแก้ไขปัญหาคดีการเมือง” โดยสรุปคือ คดีการเมืองที่เกิดขึ้นมาเป็นเรื่องของที่รัฐมองประชาชนเป็นฝ่ายตรงกันข้ามหรือเป็นศัตรู การใช้กฎหมายหรือคดีความเพื่อปราบปรามผู้ที่รัฐนั้นมองว่าเป็นศัตรูเช่นกรณีการชุมนุมของนปช.เมื่อปี 2553 และกล่าวโดยตรงถึงพรรครัฐบาลโดยเฉพาะอย่า
ย้อนอ่านประสบการณ์นายประกันคดี 112 ที่ต้องประกันความรู้สึกไปพร้อมกับอิสรภาพของจำเลย
อ่าน

ย้อนอ่านประสบการณ์นายประกันคดี 112 ที่ต้องประกันความรู้สึกไปพร้อมกับอิสรภาพของจำเลย

วันที่ 12 พฤศจิกายน 2566 ในวงเสวนาเรื่อง 3 ปี 112 คนและคดียังเดินหน้ารอวันพิพากษา ชุติมน กฤษณปาณี คณะรณรงค์เพื่อรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน (ครช.) ในฐานะนายประกันของกองทุนราษฎรประสงค์เล่าว่า จุดเริ่มต้นที่เข้ามาทำงานในฐานะนายประกันเริ่มในปี 2564 ชลิตา บัณฑุวงศ์ที่เป็นเจ้าของบัญชีร่วมของกองทุนราษฎรประสงค์ได้ติดต่อมาที่คณะรณรงค์เพื่อรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน (ครช.) ที่เธอทำงานอยู่ว่า อยากให้ไปเป็นนายประกันในคดีทางการเมือง ซึ่งต่อมาเธอรับเป็นนายประกันในคดีที่ศาลอาญาหรือบริเวณใกล้เคียง โดยเป็นนายประกันจนถึงปัจจ