Recap คดีดูหมิ่นศาล กรณีนักกิจกรรมปราศรัยเรียกร้องสิทธิการประกันตัวนักโทษการเมืองที่ศาลอาญา
อ่าน

Recap คดีดูหมิ่นศาล กรณีนักกิจกรรมปราศรัยเรียกร้องสิทธิการประกันตัวนักโทษการเมืองที่ศาลอาญา

1. วันที่ 17 ตุลาคม 2566 ศาลอาญานัด ณัฐชนน ไพโรจน์ เบนจา อะปัญ และสมยศ พฤกษาเกษมสุข ฟังคำพิพากษาในคดีดูหมิ่นศาลตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 198 จากกรณีที่ทั้งสามร่วมชุมนุมและปราศรัยที่หน้าศาลอาญาเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2564 เพื่อเรียกร้องสิทธิในการปล่อยตัวชั่วคราวให้กับจำเลยคดีการเมืองรวมทั้งคดีมาตรา 112 ที่ถูกคุมขังอยู่ในขณะนั้น
กลไกศาลในการตรวจสอบอำนาจพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ยังต่ำเกณฑ์ เปิดช่องโหว่การใช้กำลังขัดหลักสากล
อ่าน

กลไกศาลในการตรวจสอบอำนาจพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ยังต่ำเกณฑ์ เปิดช่องโหว่การใช้กำลังขัดหลักสากล

วันที่ 1 ตุลาคม 2566 เวลา 13.30 น. ไอลอว์จัดเสวนาเนื่องในวันครบรอบหนึ่งปีที่รัฐบาลพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชายกเลิกประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินที่ออกตามความพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ โดยมีผู้แลกเปลี่ยนทั้งผู้ที่ถูกดำเนินคดี (อ่านเพิ่มเติม) ทนายความและอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายอย่างพัขร์ นิยมศิลป์ อาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในบรรดาคดีพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ จำนวนมาก พัชร์เป็นพยานทีไปให้ความเห็นในฐานะผู้เชี่ยวชาญไม่น้อยกว่า 40 คดี ชวนอ่านประสบการณ์การเป็นพยานในคดีและมุมมองทางกฎหมายของพัชร์  
เลิกใช้พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ครบ 1 ปี แต่คดีความยังไม่เคยเลิก
อ่าน

เลิกใช้พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ครบ 1 ปี แต่คดีความยังไม่เคยเลิก

29 กันยายน 2566 เป็นวันครบรอบหนึ่งปีเต็มพอดีๆ ที่มีประกาศยกเลิกการใช้ #พรกฉุกเฉิน ที่พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ประกาศใช้ โดยตอนแรกบอกเพื่อการควบคุมโรคโควิด19 แต่ในทางปฏิบัติถูกนำมาใช้อย่างหนักกับการควบคุมการชุมนุมทางการเมือง
รวม 8 สส. เข้าสภาพร้อมบ่วงคดี “พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ” เครื่องมือคุมม็อบในยุคโควิด-19
อ่าน

รวม 8 สส. เข้าสภาพร้อมบ่วงคดี “พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ” เครื่องมือคุมม็อบในยุคโควิด-19

สถานการณ์ประเทศไทยในปี 2563 – 2565 ตกอยู่ภายใต้การระบาดของโรคโควิด 19 ที่กระทบไปทุกภาคส่วนทำให้พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.
9 ปี รีแคป เหตุเกิดในเดือนพฤษภา
อ่าน

9 ปี รีแคป เหตุเกิดในเดือนพฤษภา

ชวนย้อนดูเหตุการณ์สำคัญๆที่เกิดในเดือนพฤษภาคมตลอดเก้าปีที่ผ่านมาว่ามีอะไรบ้าง 
เปิดปากคำพยานคดีฟ้องเพิกถอนข้อกำหนด พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ข้อเท็จจริงชัดอ้างโควิดปราบการชุมนุม
อ่าน

เปิดปากคำพยานคดีฟ้องเพิกถอนข้อกำหนด พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ข้อเท็จจริงชัดอ้างโควิดปราบการชุมนุม

ภายใต้สถานการณ์ฉุกเฉินพล.อ.ประยุทธ์ออกข้อกำหนดรวม 47 ฉบับ ฉากหน้าของข้อกำหนดเหล่านี้ระบุว่า เป็นไปเพื่อใช้ในการปราบปรามโรคระบาดอย่างโควิด-19 หากหลายฉบับมีวาระซ่อนเร้นเพื่อใช้ในทางปราบปรามเสรีภาพในการชุมนุม นำไปสู่การฟ้องร้องต่อศาลแพ่งเพื่อเพิกถอนข้อกำหนดปิดปาก
ศาลแพ่งยกฟ้อง คดีรุ้งฟ้องให้ประยุทธ์เพิกถอนข้อกำหนดห้ามชุมนุม
อ่าน

ศาลแพ่งยกฟ้อง คดีรุ้งฟ้องให้ประยุทธ์เพิกถอนข้อกำหนดห้ามชุมนุม

14 มีนาคม 2566 ศาลแพ่งนัดฟังคำพิพากษาคดีที่ รุ้ง ปนัสยา และนักกิจกรรมอีกสามคนได้แก่ เบนจา อะปัญ กุลจิรา ทองคง หรือเอ้ The Voice และ เสกสิทธิ แย้มสงวนศักดิ์ ร่วมกันเป็นโจทก์ที่หนึ่งถึงที่สี่ตามลำดับ ฟ้อง พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีเป็นจำเลยที่หนึ่ง และ พล.อ.เฉลิมพล ศรีสวัสดิ์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ในฐานะหัวหน้าผู้รับผิดชอบในการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน ในส่วนที่เกี่ยวกับความมั่นคง เป็นจำเลยที่สอง โดยในวันนี้นักกิจกรรมที่เป็นโจทก์ไม่ได้เดินทางมาฟังคำสั่งศาล มีเพียงทนายความและผู้รับมอบอำนาจที่เดินทางมาฟังคำสั่งแทน 
เปิดข้อต่อสู้-คำตัดสิน คดีประยุทธ์ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินร้ายแรงฯ ศาลแพ่งชี้ชอบด้วยกฎหมายแล้ว
อ่าน

เปิดข้อต่อสู้-คำตัดสิน คดีประยุทธ์ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินร้ายแรงฯ ศาลแพ่งชี้ชอบด้วยกฎหมายแล้ว

คดีนักศึกษารวม 7 คนร่วมเป็นโจกท์ฟ้อง พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชาและพวกรวม 3 ราย ขอศาลแพ่งให้ “เพิกถอน” การประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินร้ายแรงฯ และเรียกร้องค่าชดเชยความเสียหายที่เกิดจากการละเมิดสิทธิเสรีภาพของประกาศและคำสั่งที่เกี่ยวข้อง มีคำพิพากษายกฟ้องไปเมื่อ 26 กันยายน 2565
วันนี้เมื่อปี 63 : #ม็อบ13ตุลา จุดเริ่มต้นของมหากาพย์ “ล้อมจับ” ประชาชนเข้าเรือนจำ
อ่าน

วันนี้เมื่อปี 63 : #ม็อบ13ตุลา จุดเริ่มต้นของมหากาพย์ “ล้อมจับ” ประชาชนเข้าเรือนจำ

หลังคาราวานการชุมนุมของเยาวชนในปี 2563 เปิดฉากขึ้น ปรากฏการณ์ควบคุมตัว “แกนนำ” และตั้งข้อหาทางกฎหมายจากการขึ้นเวทีปราศรัยก็เกิดขึ้นตามมาอย่างต่อเนื่อง โดยการสกัดกั้นกิจกรรมทางการเมืองผ่านวิธี “ล้อมจับ” ในพื้นที่ชุมนุมเพื่อส่งตรงไปสู่ “เรือนจำ” ในระลอกแรกนั้น เริ่มต้นขึ้นในวันที่ 13 ตุลาคม 2563 กินเวลายาวไปจนถึง 21 ตุลาคม 2563 ในโอกาสครบรอบ 2 ปี ไอลอว์ชวนย้อนเวลาไปดู “ที่มาที่ไป” ของเหตุการณ์การจับกุมที่อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ที่ส่งผลให้มีผู้ชุมนุมถูกควบคุมตัวไปเรือนจำ<