Browsing Category
กฎหมายอื่นๆ
63 posts
ยกเลิก พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ได้ มีกฎหมายทดแทน
22 พฤษภาคม 2563 ที่ผ่านมา ศบค. มีมติต่ออายุ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ออกไปอีกอย่างน้อยหนึ่งเดือน โดยอ้างความจำเป็นในการคงมาตรการรับมือโรคระบาด แต่ทว่า ถ้าย้อนดูจากมาตรการสำคัญที่ยังหลงเหลืออยู่ กลับเป็นการใช้อำนาจและกลไกปกติของกฎหมายต่างๆ อาทิ พ.ร.บ.โรคติดต่อ เป็นต้น
‘New Normal’ ทางกฎหมายแบบผิดๆ ผลพวงจากเวลา “6 ปี คสช.”
ภายใต้ยุคสมัยของ คสช. "กฎหมาย" ถูกหยิบมาใช้เป็นเครื่องมือสนองตอบอำนาจ ด้วยระยะเวลาที่ยาวนานทำให้เกิดความเคยชินที่เป็นอันตราย และเมื่อเข้าสู่ยุคสมัยของรัฐบาลที่ "พยายามจะมาจากการเลือกตั้ง" แนวทางการใช้กฎหมายแบบผิดๆ ยังคงสืบทอดกันมาอย่างต่อเนื่อง
รวมข้อกฎหมายอยากให้รู้ ช่วง COVID-19
ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 สังคมและวิถีชีวิตของผู้คนต้องปรับตัวอย่างเฉียบพลันครั้งใหญ่ รัฐบาลออกกฎหมายและมาตรการใหม่ๆ อย่างเร่งด่วนจนประชาชนตามไม่ทัน หน้านี้รวมข้อกฎหมายอยากให้รู้เท่าที่ไล่ตามได้ทัน เพื่อการปรับตัวให้อยู่ร่วมกันภายใต้บรรยากาศแบบใหม่ให้ได้อย่างเท่าทันที่สุด
ห้ามถ่ายรูป ห้ามยึดบัตร ไม่ใช่ตำรวจทุกคนที่จะขอดูบัตรประชาชนได้
เมื่อเข้าร่วมกิจกรรมหรือชุมนุมแล้วเจ้าหน้าที่ตำรวจเข้ามาขอตรวจบัตรประชาชนของนักศึกษาหรือผู้เข้าร่วมกิจกรรม ทำได้หรือไม่?
ย้อนดูมหากาพย์คดี “ศูนย์ปราบโกงประชามติ” หลังศาลแขวงราชบุรีสั่งยกฟ้องคดีสุดท้าย 23 กันยายน 2562
กิจกรรมเปิดศูนย์ปราบโกงประชามติ มีผู้ถูกตั้งข้อกล่าวหา “ชุมนุมทางการเมืองตั้งแต่ห้าคน” ตามคำสั่งหัวหน้าคสช. อย่างน้อย 142 คน 7 จังหวัด
Change.NCPO รังสิมันต์ “โรม” จากนักกิจกรรมนักศึกษาสู่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
รังสิมันต์ โรม เดินทางไปร่วมกิจกรรมชุมนุมครบรอบ 1 ปี รัฐประหารที่หอศิลป์กรุงเทพ ถูกควบคุมตัวพร้อมผู้ชุมนุมรวม 30 คน ไปที่สน.ปทุมวันหนึ่งคืน
ศาลอาญายกฟ้องหกแกนนำอยากเลือกตั้งราชดำเนิน ชี้การชุมนุมไม่ปลุกปั่น คำปราศรัยเป็นการติชมตามระบอบปชต.
20 กันยายน 2562 ศาลอาญานัดฟังคำพิพากษาคดียุยงปลุกปั่นตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 116 ของหกผู้จัดการชุมนุมคนอยากเลือกตั้งที่ถนนราชดำเนิน