รัฐบาลคุมเกมแก้รัฐธรรมนูญใน กมธ. เบ็ดเสร็จ ตั้ง ส.ว. ที่ “ไม่เห็นชอบ” มาด้วย
อ่าน

รัฐบาลคุมเกมแก้รัฐธรรมนูญใน กมธ. เบ็ดเสร็จ ตั้ง ส.ว. ที่ “ไม่เห็นชอบ” มาด้วย

ขั้นตอนต่อไปของการแก้ไขรัฐธรรมนูญ จะถูกพิจารณาในวาระที่สองโดย กมธ.แก้รัฐธรรมนูญฯ 45 คน มีตัวแทนจากพรรคร่วมฝ่ายค้าน 13 คน พรรคร่วมรัฐบาล 17 คน และ ส.ว. 15 คน มีทั้ง ส.ว. 10 คน ที่ "ไม่" ลงมติรับหลักการร่างรัฐธรรมนูญที่เปิดทางให้มีการตั้ง สสร. และมี 2 คน ที่ "ไม่" ลงมติเห็นชอบกับการแก้ไขรัฐธรรมนูญร่างใดเลย
คดีพักบ้านหลวง: พล.อ.ประยุทธ์อาจพ่าย แต่ระบอบ คสช. ยังไม่แพ้
อ่าน

คดีพักบ้านหลวง: พล.อ.ประยุทธ์อาจพ่าย แต่ระบอบ คสช. ยังไม่แพ้

2 ธันวาคม 2563 คือ วันชี้ชะตาของ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและอดีตหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ว่าจะต้องพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีหรือไม่ โดยผลของคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญอาจทำให้ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา และบรรดาคณะรัฐมนตรีในรัฐบาล คสช. ต้องพ้นไปจากตำแหน่งยกชุด และ พล.อ.ประยุทธ์ อาจต้องเว้นวรรคทางการเมืองเป็นเวลา 2 ปี
“รัฐธรรมนูญใหม่ ที่มีรัฐสวัสดิการ เป็นหลักประกันคุณภาพชีวิตของประชาชน”
อ่าน

“รัฐธรรมนูญใหม่ ที่มีรัฐสวัสดิการ เป็นหลักประกันคุณภาพชีวิตของประชาชน”

เปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 พ.ศ.2550 และ พ.ศ.2560 สามด้าน คือ การศึกษา สุขภาพ และผู้สูงอายุ พบว่า ทั้งสามฉบับมีการกำหนดโครงสร้างด้าน “สวัสดิการ” ไว้บ้าง แต่ตั้งอยู่บนพื้นฐานแนวคิด “การสงเคราะห์ ช่วยเหลือ” มากกว่าที่จะกำหนดให้เป็นสิทธิของประชาชน
หลักพระมหากษัตริย์ทรงกระทำผิดมิได้ (The King Can Do No Wrong) ตามรัฐธรรมนูญ 20 ฉบับ
อ่าน

หลักพระมหากษัตริย์ทรงกระทำผิดมิได้ (The King Can Do No Wrong) ตามรัฐธรรมนูญ 20 ฉบับ

หลักพระมหากษัตริย์ทรงกระทำผิดมิได้ ไม่ได้ห้ามมิให้บุคคลฟ้องพระมหากษัตริย์ ดังที่ปรากฏใน "มาตรา 6" รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเพียงอย่างเดียว แต่มีหลักการอื่นที่กำกับควบคุมพระราชอำนาจประกอบกันด้วย คือ หลักการที่ว่า กษัตริย์ไม่มีพระราชอำนาจกระทำสิ่งต่างๆ ด้วยตัวเอง ต้องมีผู้ลงนามรับสนอง
ร่างรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน “ไม่ผ่าน” ความเห็นชอบจากรัฐสภา
อ่าน

ร่างรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน “ไม่ผ่าน” ความเห็นชอบจากรัฐสภา

18 พฤศจิกายน 2563 รัฐสภามีวาระพิจารณาแก้รัฐธรรมนูญเพื่อนำไปสู่การเขียนรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ จากร่าง 7 ฉบับ โดยร่างแก้รัฐธรรมนูญฉบับภาคประชาชน “ไม่ผ่าน” ความเห็นชอบของรัฐสภา
คนเคย “โหวตเยส” 94% ได้ข้อมูลไม่พอ คิดใหม่แล้ว 83% ไปร่วมชุมนุม
อ่าน

คนเคย “โหวตเยส” 94% ได้ข้อมูลไม่พอ คิดใหม่แล้ว 83% ไปร่วมชุมนุม

แม้จะมีเสียงเรียกร้องให้แก้รัฐธรรมนูญ แต่หลายคนโต้แย้งด้วยการหยิบยกเสียงของผู้ที่ลงประชามติรับร่างฉบับนี้ขึ้นมาอ้าง ไอลอว์จึงทำแบบสอบถามเพื่อสำรวจความคิดเห็นของผู้ที่เคยลงประชามติ “เห็นชอบ” ร่างรัฐธรรมนูญว่าเมื่อเวลาผ่านมา 4 ปีแล้ว ความคิดของพวกเขาเปลี่ยนไปอย่างไร
4 เรื่อง ที่จะเกิดขึ้นถ้าร่างรัฐธรรมนูญฉบับประชาชนมีผลบังคับใช้
อ่าน

4 เรื่อง ที่จะเกิดขึ้นถ้าร่างรัฐธรรมนูญฉบับประชาชนมีผลบังคับใช้

17 พฤศจิกายน 2563 ที่ประชุมรัฐสภามีนัดพิจารณาญัตติการแก้ไขรัฐธรรมนูญ จากร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญเจ็ดฉบับ โดยหนึ่งในร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญที่จะถูกพิจารณา คือ ร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญ ฉบับที่เสนอโดยประชาชน ซึ่งหากร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับประชาชนผ่านการเห็นชอบจากรัฐสภา และประกาศใช้อย่างเป็นทางการ สิ่งที่จะเกิดขึ้นกับเส้นทางข้างหน้าของการเมืองไทย มีอย่างน้อย 4 เรื่อง
รวมบทสัมภาษณ์ “เสียงที่คิดใหม่กับรัฐธรรมนูญที่ไร้ทางเลือก”
อ่าน

รวมบทสัมภาษณ์ “เสียงที่คิดใหม่กับรัฐธรรมนูญที่ไร้ทางเลือก”

รวมบทสัมภาษณ์ของคนที่เคย ‘Vote Yes’ ทั้งกับร่างรัฐธรรมนูญและคำถามพ่วง เมื่อปี 2559 แล้ว ‘คิดใหม่’ ในปี 2563 ว่า #รัฐธรรมนูญ ฉบับ คสช. ต้องแก้ไข ที่ร่วมให้ข้อมูล เพื่อส่งเสียงใหม่ ไม่ให้เขาเอาเสียงไปอ้างใช้ได้อีกต่อไป
ข้อเสนอแก้ไขรัฐธรรมนูญเสนอโดยประชาชน “5 ยกเลิก 5 แก้ไข”
อ่าน

ข้อเสนอแก้ไขรัฐธรรมนูญเสนอโดยประชาชน “5 ยกเลิก 5 แก้ไข”

ชวนทำความเข้าใจเนื้อหาและเหตุผลของ ร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญ 5 ยกเลิก 5 แก้ไขเพื่อ “รื้อระบอบอำนาจของคสช. “สร้าง” หนทางกลับสู่ประชาธิปไตย และเปิดทางให้เกิดการ “ร่าง” รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ จากการมีส่วนร่วมของประชาชน
10 ข้อเสนอปฏิรูปสถาบันกษัตริย์ ใช้รัฐสภาแก้กฎหมายได้ 5 ข้อ
อ่าน

10 ข้อเสนอปฏิรูปสถาบันกษัตริย์ ใช้รัฐสภาแก้กฎหมายได้ 5 ข้อ

ชวนพิจารณาข้อเสนอปฏิรูปสถาบันพระมหากษัตริย์ทั้ง 10 ข้อ หากจะนำไปสู่การปฏิบัติให้เกิดขึ้นจริงได้ มีอย่างน้อย 5 ข้อ ที่ต้องอาศัยกระบวนการออกกฎหมายของรัฐสภาเป็นกลไกสำคัญ ส่วนอีก 5 ข้อนั้น ต้องอาศัยการปฏิรูปทัศนคติของคนในสังคมและวัฒนธรรมความเชื่อ