ชำแหละ-แจกแจง-วิเคราะห์ คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ กรณีเลือกตั้ง 2 ก.พ.57
อ่าน

ชำแหละ-แจกแจง-วิเคราะห์ คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ กรณีเลือกตั้ง 2 ก.พ.57

ชำแหละคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 28/2557 แยกเป็น 6 ประเด็นตามคำร้องของผู้ตรวจการแผ่นดิน แจกแจงความเห็นของกกต.และรัฐบาลประกอบ พร้อมวิเคราะห์สไตล์รัฐศาสตร์+นิติศาสตร์ คำวินิจฉัย ชอบ-ไม่ชอบอย่างไร
ศาลรัฐธรรมนูญ+ผู้ตรวจการแผ่นดิน vs การเลือกตั้ง’57
อ่าน

ศาลรัฐธรรมนูญ+ผู้ตรวจการแผ่นดิน vs การเลือกตั้ง’57

ขบวนการ “ตุลาการภิวัฒน์” ขององค์กรอิสระยังเดินเกมส์อย่างต่อเนื่อง ล่าสุดการที่ศาลรัฐธรรมนูญตัดสินให้การเลือกตั้งเป็นโมฆะ นำมาซึ่งข้อสงสัย ว่าการตัดสินครั้งนี้ตั้งอยู่บนฐานความถูกต้องทางกฎหมายหรือความเชื่อทางการเมือง iLaw ขอทำหน้าที่พลเมืองดีของระบอบประชาธิปไตย เป็นส่วนหนึ่งที่จะตรวจสอบถ่วงดุลอำนาจต่างๆ อย่างศาลรัฐธรรมนูญและผู้ตรวจการแผ่นดิน
เปิดงบประมาณกสทช. บริจาคเพื่อการกุศลสูงสุด – นักกม.เตือนระวังกม.ปปช.
อ่าน

เปิดงบประมาณกสทช. บริจาคเพื่อการกุศลสูงสุด – นักกม.เตือนระวังกม.ปปช.

NBTC Policy Watch เปิดรายงานการใช้ทรัพยากรของหน่วยงานกำกับดูแล พบ กสทช.ใช้เงินงบประมาณไม่ตอบวัตถุประสงค์ บริจาคเพื่อการกุศลสูงสุด รองลงมาเดินทางไปต่างประเทศ นักวิชาการชี้ กสทช.ควรใช้เงินไปเพื่อพัฒโทรคมนาคมและกระจายเสียงให้มีประสิทธิภาพ 
นักกฎหมายสับเละ ร่างประกาศกสทช. ไม่ชอบธรรม-ละเมิดเสรีภาพสื่อ-ทำเกินหน้าที่
อ่าน

นักกฎหมายสับเละ ร่างประกาศกสทช. ไม่ชอบธรรม-ละเมิดเสรีภาพสื่อ-ทำเกินหน้าที่

หลังร่างประกาศ กสทช.ออกมา ก็มีกระแสวิพากษ์วิจารณ์ถึงเนื้อหาที่กำหนดการห้ามออกอากาศตามมาตรา 37 ของพ.ร.บ.การประกอบกิจการโทรทัศน์ฯ ว่าเป็นการลิดรอนเสรีภาพสื่อ ทั้งที่มาของร่างนี้ก็เป็นที่เคลือบแคลงว่า กสทช.มีอำนาจในการออกหรือไม่ กสทช.จึงจัดงานเสวนา "เสรีภาพสื่อ VS การใช้กฎหมายกำกับดูแล" เพื่อรับฟังความเห็นต่อร่างประกาศฉบับนี้
ท้ากสทช. ถ้าแพ้คดี เอาตำแหน่งเป็นเดิมพัน
อ่าน

ท้ากสทช. ถ้าแพ้คดี เอาตำแหน่งเป็นเดิมพัน

ผจก.วิทยุจุฬาฯ ชี้ กสทช.ฟ้องหมิ่นสื่อ เท่ากับทำลายระบบการกำกับดูแลตนเองของสื่อ ท้าเดิมพันตำแหน่งของกสทช. หากศาลตัดสินว่าสื่อไม่มีความผิด นักกฎหมายชี้เป็นสิทธิในการฟ้อง แต่ไม่ควรใช้
สื่อสาธารณะเสนอ ให้มีกลไกกลางตรวจสอบเนื้อหา แทนการชี้ขาดของกสทช.
อ่าน

สื่อสาธารณะเสนอ ให้มีกลไกกลางตรวจสอบเนื้อหา แทนการชี้ขาดของกสทช.

เสวนาที่ไทยพีบีเอส สมชัยชี้ "ตอบโจทย์" ส่งเสริมความมั่นคงของสถาบันฯ มาตรา112 ต้องแก้ไข นักวิชาการด้านศาสนาชี้ สื่อไทย "เป็นมิตร" กับศาสนาแต่ไม่เป็นธรรม สุภิญญารับร่างประกาศกำกับดูแลเนื้อหาผิดเพี้ยนไปเป็นการใหญ่
รุมอัดร่างกำกับเนื้อหาฯ กสทช. เอาแต่ “ควบคุม” ละเลย “การกำกับดูแล”
อ่าน

รุมอัดร่างกำกับเนื้อหาฯ กสทช. เอาแต่ “ควบคุม” ละเลย “การกำกับดูแล”

รุมอัดร่างประกาศฯ กสทช. เรื่องเนื้อหาต้องห้ามในสื่อวิทยุและโทรทัศน์ นักวิชาการวารสาร-รัฐศาสตร์ ร้องรัฐให้ประชาชนคิดเองว่าอะไรเหมาะไม่เหมาะ คนทำสื่อประกาศสงครามไม่รับร่างนี้ นภพัฒน์จักษ์กลัวกสทช.จะกลายเป็นเสือกระดาษ ไม่มีใครเชื่อถือ
ศาลรธน.มีมติเอกฉันท์ ม. 112 ไม่ขัดรธน.
อ่าน

ศาลรธน.มีมติเอกฉันท์ ม. 112 ไม่ขัดรธน.

ศาลรัฐธรรมนูฐมีมติเอกฉันท์ มาตรา 112 ไม่ขัดรัฐธรรมนูญ ระบุเป็นกฎหมายเพื่อความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดี ตามหลักนิติธรรมที่เป็นศีลธรรมหรือจริยธรรมของกฎหมาย อัตราโทษเหมาะสมได้สัดส่วน และย้ำว่าการกระทำขัดม. 112 ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของรัฐได้จริง
กสม.หาแนวทาง นำไทยปราศจากโทษประหารชีวิต
อ่าน

กสม.หาแนวทาง นำไทยปราศจากโทษประหารชีวิต

คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนระดมความเห็นเพื่อเดินหน้าการยกเลิกโทษประหารชีวิต เสนอทางเลือก ให้ยกเลิกโดยสิ้นเชิง หรือคงกฎหมายไว้แต่ยกเลิกในทางปฏิบัติ ขณะที่ความเห็นจำนวนหนึ่งเสนอว่า สังคมไทยยังมีรูโหว่ ไม่ควรยกเลิกโทษประหารชีวิตในเวลานี้
เมื่อเสรีภาพ มาเคาะประตูบ้านศาลรัฐธรรมนูญ
อ่าน

เมื่อเสรีภาพ มาเคาะประตูบ้านศาลรัฐธรรมนูญ

อีกวิธีที่ประชาชนอาจใช้เพื่อเปลี่ยนแปลงกฎหมาย คือการส่งเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญตีความว่ากฎหมายใดละเมิดสิทธิตามรัฐธรรมนูญหรือไม่ และนาทีนี้กฎหมายควบคุมเสรีภาพการแสดงออก 3 ฉบับยังรอคำชี้ขาดของศาลรัฐธรรมนูญอยู่