กรธ.-สนช. เชื่อ องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญใหม่มีความกล้าหาญและคุณธรรม
อ่าน

กรธ.-สนช. เชื่อ องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญใหม่มีความกล้าหาญและคุณธรรม

ในวงเสวนา ตัวแทนจาก กรธ. และ สนช. มีความเชื่อมั่นในการทำงานขององค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญใหม่ เพราะมีการเพิ่มอำนาจ และการกำหนดที่มาและคุณสมบัติให้เข้มข้นยิ่งขึ้น ส่วนนักวิชาการชี้ว่า ประเด็นการเลือกเซ็ตซีโร่บางองค์กรจะทำให้ถูกครหา และการเขียนคุณสมบัติว่าต้องซื่อสัตย์สุจริตเป็นที่ประจักษ์อาจจะทำให้ตกเป็นเครื่องมือทางการเมือง
อ่าน

ยุค คสช. แก้กฎหมาย ป.ป.ช. 3 รอบ ก่อนรื้อใหม่ทั้งฉบับ ย้อนกลับไปกลับมา

เพื่อปฏิรูปการปราบปรามทุจริต คสช. แก้กฎหมาย ป.ป.ช. ไปสามรอบ รอบแรกโดยออกเป็นประกาศ คสช. ส่วนอีกสองรอบผ่านทาง สนช. แต่สุดท้ายเมื่อปี 2560 ก็ต้องเขียนกฎหมาย ป.ป.ช. กันใหม่ทั้งฉบับตามรัฐธรรมนูญใหม่ สิ่งที่แก้ไขกันไปบางอย่างก็ยังเหลืออยู่ แต่บางอย่างกลับหายไปเลย
ปัญหาของการพิจารณาลงโทษสื่อ โดยกลไก กสทช.
อ่าน

ปัญหาของการพิจารณาลงโทษสื่อ โดยกลไก กสทช.

สรุปอำนาจและอำนาจของ กสทช. ให้การกำกับดูแลเนื้อหา และสั่ง “ปิดสื่อ” พร้อมข้อห่วงกังวลเมื่อกฎหมายไม่ชัดเจน ขาดแนวปฏิบัติที่เป็นมาตรฐาน ไม่มีลำดับขั้น กระทบต่อเสรีภาพสื่อ
อ่าน

มติ สนช. คว่ำสรรหา กสทช. ยกชุด

ผลการประชุมลับเพื่อลงมติเลือก กรรมการ กสทช. ชุดใหม่ของ สนช. คือ ที่ประชุม สนช. ลงมติไม่เห็นชอบผู้สมัครกรรมการ กสทช. ทั้งหมด 14 คน การลงมติของ สนช. ครั้งนี้เท่ากับเป็นการคว่ำการคัดเลือกของ คณะกรรมการสรรหา กสทช. และจะต้องเริ่มกระบวนการสรรหาใหม่
อ่าน

ดีแทคเรียกร้อง กสทช ทบทวนแนวทางประมูลคลื่น 1800 MHz เพื่อประโยชน์ทุกฝ่าย

9เมษายน2561 ดีแทค ยื่นจดหมายแสดงความคิดเห็นในการประมูลคลื่นความถี่ 1800 MHz ต่อ กสทชโดยเรียกร้องให้พิจารณาทบทวนแนวทางประมูลคลื่นความถี่เพื่อประโยชน์สูงสุดทุกฝ่าย ทั้งอุตสาหกรรมโทรคมนาคม ผู้บริโภค และสนับสนุนนโยบายประเทศไทยแ4.0
ห้ามวิจารณ์ศาลรัฐธรรมนูญ โทษจำคุก มาได้ยังไง? : ศาลรัฐธรรมนูญไม่ได้ขอ – กรธ. ไม่ได้ให้เอง
อ่าน

ห้ามวิจารณ์ศาลรัฐธรรมนูญ โทษจำคุก มาได้ยังไง? : ศาลรัฐธรรมนูญไม่ได้ขอ – กรธ. ไม่ได้ให้เอง

ข้อค้นพบจากงานเสวนาชี้ให้เห็นความสับสนในที่มา เมื่อตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ บอกว่า ไม่ต้องการโทษจำคุกสำหรับความผิดฐานละเมิดอำนาจศาล แต่กรรมการร่างรัฐธรรมนูญกลับบอกว่า ไม่ได้เป็นคนใส่เพิ่มขึ้นมา ขณะกฎหมายที่ประกาศใช้กำหนดให้การวิจารณ์ศาลรัฐธรรมนูญโดยไม่สุจริตมีโทษจำคุก 1 เดือน
อ่าน

เส้นทางพรรคการเมืองไม่เอาทหาร ยังไม่ง่าย! คสช. วางกลไกขวางไว้เพียบ

เส้นทางของพรรคการเมืองหน้าใหม่ที่ประกาศตัวเป็นปฏิปักษ์กับ คสช. นั้นไม่ง่าย เพราะกลไกการเข้าสู่อำนาจผ่านการเลือกตั้งนั้น ยังต้องเป็นไปตามกติกาในรัฐธรรมนูญ 2560 และกฎหมายลูกอีกหลายฉบับ รวมทั้งประกาศ และคำสั่งของ คสช. ที่ยังมีผลบังคับใช้ซึ่ง คสช. วางกลไกกับดักเอาไว้มากมาย
อ่าน

เทคนิคใหม่ ‘ยื้อเลือกตั้ง’ ให้ศาลตีความกฎหมาย ส.ว.

แม้ คสช. จะพยายามหาเทคนิคใหม่ๆ มาเลื่อนเลือกตั้งไปแล้วถึง 4 ครั้ง ไล่ตั้งแต่ แก้รัฐธรรมนูญชั่วคราวฯ 2557, คว่ำร่างรัฐธรรมนูญฉบับบวรศักดิ์แล้วร่างใหม่, แก้รัฐธรรมนูญชั่วคราวตามที่พระมหากษัตริย์พระราชทานข้อสังเกต จนมาถึงขยายเวลาบังคับใช้กฎหมาย ส.ส. ออกไปอีก 90 วัน และล่าสุดดูเหมือน คสช. จะพบเทคนิคใหม่ โดยให้ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ หรือ สนช. ยื่นศาลรัฐธรรมนูญตีความร่างกฎหมายลูก ส.ว.
อ่าน

กฎหมาย กสม. ฉบับใหม่ เปลี่ยนองค์กรตรวจสอบเป็นกระบอกเสียงรัฐ

คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เป็นองค์กรอิสระที่มุ่งหวังให้มีกลไกอิสระ เพื่อทำหน้าที่ส่งเสริม คุ้มครอง และพิทักษ์สิทธิเสรีภาพของประชาชนให้มีผลปรากฏเป็นจริง แต่เมื่อเปลี่ยนรัฐธรรมนูญใหม่เป็นรัฐธรรมนูญปี 2560 คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ (กรธ.) ต้องตรากฎหมายลูกอย่าง พ.ร.ป.กสม. ขึ้นมา และเปลี่ยนให้องค์กรตรวจสอบเป็นกระบอกเสียงรัฐ
อ่าน

เปิดสามเหตุผลศาลรัฐธรรมนูญไม่รับคำร้องประชาชน กรณีถูกละเมิดสิทธิเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ

หลังประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 สิ่งที่น่าสนใจอย่างหนึ่งในรัฐธรรมนูญฉบับนี้ตั้งแต่ก่อนลงประชามติรับร่างรัฐธรรมนูญคือเรื่อง การร้องตรงต่อศาลรัฐธรรมนูญของผู้ถูกละเมิดสิทธิเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ แต่หลังจากประกาศใช้ศาลรัฐธรรมนูญยังไม่มีคำสั่งรับคำร้องโดยตรงจากผู้ถูกละเมิด จึงชวนมาดูเหตุผลกันว่าเหตุใดบ้างที่ศาลรัฐธรรมนูญจึงไม่รับคำร้องของประชาชน