เลือกตั้ง 62: โทษตัดสิทธิทางการเมืองกรรมการบริหารพรรคการเมือง มรดกรัฐประหาร 2549
อ่าน

เลือกตั้ง 62: โทษตัดสิทธิทางการเมืองกรรมการบริหารพรรคการเมือง มรดกรัฐประหาร 2549

ย้อนดูพัฒนาการของโทษการยุบพรรคนับตั้งแต่หลังการรัฐประหาร 2549 เดิมทีหากพรรคการเมืองกระทำผิดตามกฎหมายระบุมีโทษยุบพรรคและห้ามจัดตั้งพรรคขึ้นใหม่ภายในห้าปี รัฐประหาร 2549 ได้เพิ่มเงื่อนไขตัดสิทธิทางการเมืองห้าปีเพิ่มเข้ามา จนกระทั่งรัฐประหาร 2557 ที่กฎหมายเปิดช่องให้ศาลรัฐธรรมนูญใช้ดุลพินิจกำหนดเวลาการตัดสิทธิทางการเมือง
เปิดคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญยุบพรรคไทยรักษาชาติ
อ่าน

เปิดคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญยุบพรรคไทยรักษาชาติ

ศาลรัฐธรรมนูญออกนั่งพิจารณาเพื่ออ่านคำวินิจฉัย คดีที่คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) ยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งยุบพรรคไทยรักษาชาติ กรณีที่พรรคไทยรักษาชาติยื่น “ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนฯ” เป็นแคนดิเดตนายกรัฐมนตรีของพรรค ซึ่งอาจเข้าข่ายเป็นกระทําการอันอาจเป็นปฏิปักษ์ต่อการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์
เลือกตั้ง 62: คดีไทยรักษาชาติจะจบเร็วหรือช้า ขึ้นอยู่กับการยุติการไต่สวนของศาลรัฐธรรมนูญ
อ่าน

เลือกตั้ง 62: คดีไทยรักษาชาติจะจบเร็วหรือช้า ขึ้นอยู่กับการยุติการไต่สวนของศาลรัฐธรรมนูญ

ก่อนจะถึงการเลือกตั้งในวันที่ 24 มีนาคม 2562 ประเด็นที่คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) ยื่นคำร้องขอให้ยุบพรรคไทยรักษาชาติ (ทษช.) ต่อศาลรัฐธรรมนูญ เป็นเรื่องที่น่าติดตามมากที่สุดเรื่องหนึ่ง จึงชวนมาดูกันว่าศาลรัฐธรรมนูญจะมีการดำเนินการพิจารณาคดีอย่างไร                    
ศาลปกครองกลางนัดฟังคำพิพากษาคดีวอยซ์ ทีวี ฟ้องเพิกถอนคำสั่งกสทช.
อ่าน

ศาลปกครองกลางนัดฟังคำพิพากษาคดีวอยซ์ ทีวี ฟ้องเพิกถอนคำสั่งกสทช.

27 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 10.00 น. ศาลปกครองกลางออกนั่งพิจารณาคดีเป็นครั้งแรกในคดีที่วอยซ์ ทีวีฟ้องคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ผู้ถูกฟ้องคดีที่ 1 และสำนักงาน กสทช. ผู้ถูกฟ้องคดีที่ 2 โดยตุลาการศาลปกครองจะแถลงข้อเท็จจริงในคดี ก่อนที่ในเวลา 14.00 น. ตุลาการฯจะอ่านคำพิพากษาของคดีนี้
ห้ามวิจารณ์ศาลรัฐธรรมนูญ โทษจำคุก มาได้ยังไง? : ศาลรัฐธรรมนูญไม่ได้ขอ – กรธ. ไม่ได้ให้เอง
อ่าน

ห้ามวิจารณ์ศาลรัฐธรรมนูญ โทษจำคุก มาได้ยังไง? : ศาลรัฐธรรมนูญไม่ได้ขอ – กรธ. ไม่ได้ให้เอง

ข้อค้นพบจากงานเสวนาชี้ให้เห็นความสับสนในที่มา เมื่อตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ บอกว่า ไม่ต้องการโทษจำคุกสำหรับความผิดฐานละเมิดอำนาจศาล แต่กรรมการร่างรัฐธรรมนูญกลับบอกว่า ไม่ได้เป็นคนใส่เพิ่มขึ้นมา ขณะกฎหมายที่ประกาศใช้กำหนดให้การวิจารณ์ศาลรัฐธรรมนูญโดยไม่สุจริตมีโทษจำคุก 1 เดือน
อ่าน

เทคนิคใหม่ ‘ยื้อเลือกตั้ง’ ให้ศาลตีความกฎหมาย ส.ว.

แม้ คสช. จะพยายามหาเทคนิคใหม่ๆ มาเลื่อนเลือกตั้งไปแล้วถึง 4 ครั้ง ไล่ตั้งแต่ แก้รัฐธรรมนูญชั่วคราวฯ 2557, คว่ำร่างรัฐธรรมนูญฉบับบวรศักดิ์แล้วร่างใหม่, แก้รัฐธรรมนูญชั่วคราวตามที่พระมหากษัตริย์พระราชทานข้อสังเกต จนมาถึงขยายเวลาบังคับใช้กฎหมาย ส.ส. ออกไปอีก 90 วัน และล่าสุดดูเหมือน คสช. จะพบเทคนิคใหม่ โดยให้ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ หรือ สนช. ยื่นศาลรัฐธรรมนูญตีความร่างกฎหมายลูก ส.ว.
อ่าน

เปิดสามเหตุผลศาลรัฐธรรมนูญไม่รับคำร้องประชาชน กรณีถูกละเมิดสิทธิเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ

หลังประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 สิ่งที่น่าสนใจอย่างหนึ่งในรัฐธรรมนูญฉบับนี้ตั้งแต่ก่อนลงประชามติรับร่างรัฐธรรมนูญคือเรื่อง การร้องตรงต่อศาลรัฐธรรมนูญของผู้ถูกละเมิดสิทธิเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ แต่หลังจากประกาศใช้ศาลรัฐธรรมนูญยังไม่มีคำสั่งรับคำร้องโดยตรงจากผู้ถูกละเมิด จึงชวนมาดูเหตุผลกันว่าเหตุใดบ้างที่ศาลรัฐธรรมนูญจึงไม่รับคำร้องของประชาชน
สรุปคำฟ้อง ‘ทวงคืนเสรีภาพ’ ยกเลิกคำสั่งหัวหน้าคสช. ที่ 3/2558
อ่าน

สรุปคำฟ้อง ‘ทวงคืนเสรีภาพ’ ยกเลิกคำสั่งหัวหน้าคสช. ที่ 3/2558

กลุ่มฟื้นฟูประชาธิปไตยและภาคประชาชนกลุ่มต่างๆ ได้ยื่นคำร้องต่อศาลรัฐธรรมนูญ โดยอาศัยสิทธิตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 213 เพื่อขอให้วินิจฉัยว่า คำสั่งหัวหน้า คสช. ที่ 3/2558 ข้อ 6 และข้อ 12 มีข้อความขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่ รวมถึงคำสั่งควบคุมตัวและการควบคุมตัวผู้ร้องไว้โดยอาศัยอำนาจตามคำสั่งหัวหน้า คสช. ที่ 3/2558 เป็นการกระทำที่ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่
สรุปเหตุผลของศาลรัฐธรรมนูญ ทำไม พ.ร.บ.ประชามติฯ ถึงไม่ขัดรัฐธรรมนูญ
อ่าน

สรุปเหตุผลของศาลรัฐธรรมนูญ ทำไม พ.ร.บ.ประชามติฯ ถึงไม่ขัดรัฐธรรมนูญ

หลังจากเมื่อวันที่ 29 มิถุนายน ศาลรัฐธรรมนูญมีมติเอกฉันท์ พ.ร.บ.ประชามติฯ มาตรา 61 วรรคสอง ไม่ขัดรัฐธรรมนูญ จนกระทั่งวันที่ 4 กรกฎาคม ศาลรัฐธรรมนูญได้เผยแพร่ร่างคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ ๔/๒๕๕๙ (อย่างไม่เป็นทางการ) ออกมา ไอลอว์สรุปเหตุผลของศาลรัฐธรรมนูญว่า ทำไม พ.ร.บ.ประชามติฯ ถึงไม่ขัดรัฐธรรมนูญ
ชำแหละ-แจกแจง-วิเคราะห์ คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ กรณีเลือกตั้ง 2 ก.พ.57
อ่าน

ชำแหละ-แจกแจง-วิเคราะห์ คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ กรณีเลือกตั้ง 2 ก.พ.57

ชำแหละคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 28/2557 แยกเป็น 6 ประเด็นตามคำร้องของผู้ตรวจการแผ่นดิน แจกแจงความเห็นของกกต.และรัฐบาลประกอบ พร้อมวิเคราะห์สไตล์รัฐศาสตร์+นิติศาสตร์ คำวินิจฉัย ชอบ-ไม่ชอบอย่างไร