ฉาย “ละครคุณธรรม” บังคับส่งกลับผู้ลี้ภัยอุยกูร์ ทำลายภาพลักษณ์ไทยในเวทีโลก
อ่าน

ฉาย “ละครคุณธรรม” บังคับส่งกลับผู้ลี้ภัยอุยกูร์ ทำลายภาพลักษณ์ไทยในเวทีโลก

กัณวีร์ระบุว่า การดำเนินการนโยบายต่างประเทศและการบังคับส่งกลับอุยกูร์เป็นการทุจริตเชิงนโยบายการต่างประเทศ พร้อมทั้งเรียกร้องหลักฐานการสมัครใจกลับของผู้ลี้ภัย
ถอดรหัสลงมติ พรรคร่วมรัฐบาลประสานเสียงชัดเห็นด้วยส่งศาลรัฐธรรมนูญรอบที่ 3 ปมปลดล็อกเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ ด้านสว. ข้างมากขอ “งดออกเสียง”
อ่าน

ถอดรหัสลงมติ พรรคร่วมรัฐบาลประสานเสียงชัดเห็นด้วยส่งศาลรัฐธรรมนูญรอบที่ 3 ปมปลดล็อกเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ ด้านสว. ข้างมากขอ “งดออกเสียง”

ผลการลงมติส่งเรื่องไปศาลรัฐธรรมนูญรอบที่ 3 ประเด็นการเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ พรรคร่วมรัฐบาลเสียงแทบไม่แตกโหวตเห็นด้วย เสียงไม่เห็นด้วย มาจากพรรคประชาชนและพรรคเป็นธรรม และ สว. ส่วนน้อยอีก 12 เสียง ด้าน สว. ข้างมากในวุฒิสภา เลือกโหวต “งดออกเสียง”
รวมเหตุผล (?) เพื่อไทย ทำไมต้องส่งศาลรัฐธรรมนูญรอบที่ 3 ปมปลดล็อกเขียนรัฐธรรมนูญใหม่
อ่าน

รวมเหตุผล (?) เพื่อไทย ทำไมต้องส่งศาลรัฐธรรมนูญรอบที่ 3 ปมปลดล็อกเขียนรัฐธรรมนูญใหม่

จากเสียงแตกพ่ายหลากหลายความคิดของสมาชิกรัฐสภา ชวนดูเสียงจากสส.พรรคเพื่อไทย พรรคแกนนำพรรคร่วมรัฐบาล ว่าทำไมต้องส่งเรื่องนี้ให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยปมปลดล็อกเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ครั้งที่สาม
อีกแล้ว! รัฐสภาส่งศาล รธน.วินิจฉัยเขียนรัฐธรรมนูญใหม่รอบที่สาม ถามเรื่องเดิมศาลอาจไม่รับคำร้องเหมือนเดิม
อ่าน

อีกแล้ว! รัฐสภาส่งศาล รธน.วินิจฉัยเขียนรัฐธรรมนูญใหม่รอบที่สาม ถามเรื่องเดิมศาลอาจไม่รับคำร้องเหมือนเดิม

17 มีนาคม 2568 รัฐสภาส่งศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยอำนาจเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ของรัฐสภาเป็นครั้งที่สาม ว่ารัฐสภามีอำนาจเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ โดยที่ยังไม่ได้มีการทำประชามติได้หรือหม่ ซึ่งศาลรัฐธรรมนูญอาจไม่รับคำร้องเหมือนที่เคยไม่รับในปี 2567
รัฐสภาส่งศาลรัฐธรรมนูญรอบสาม ปมปลดล็อกเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ต้องทำประชามติก่อนหรือไม่
อ่าน

รัฐสภาส่งศาลรัฐธรรมนูญรอบสาม ปมปลดล็อกเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ต้องทำประชามติก่อนหรือไม่

17 มีนาคม 2568 ที่ประชุมรัฐสภามีมติส่งศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยอำนาจหน้าที่ของรัฐสภาในการจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่และการประชามติ “ก่อน” เขียนรัฐธรรมนูญใหม่ต้องทำในขั้นตอนใด
สามฉากทัศน์หลังรัฐสภาเห็นชอบส่งศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย “เขียนรัฐธรรมนูญใหม่” ซ้ำรอบสาม
อ่าน

สามฉากทัศน์หลังรัฐสภาเห็นชอบส่งศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย “เขียนรัฐธรรมนูญใหม่” ซ้ำรอบสาม

ที่ประชุมร่วมของรัฐสภามีมติส่งให้ศาลรัฐธรรมนูญตีความรายละเอียดจำนวนครั้งและขั้นตอนการทำประชามติเพื่อเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ ซึ่งที่ผ่านมามีการยื่นคำร้องในทำนองนี้แล้วสามครั้งสะท้อนให้เห็นถึงการใช้กระบวนการทางกฎหมายเป็นเครื่องมือทางการเมืองในการ “ถ่วงเวลา” กระบวนการเขียนรัฐธรรมนูญใหม่
พริษฐ์มองรัฐบาลขาดเจตจำนงจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ ขอแพทองธารแสดงภาวะผู้นำ
อ่าน

พริษฐ์มองรัฐบาลขาดเจตจำนงจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ ขอแพทองธารแสดงภาวะผู้นำ

พริษฐ์ระบุว่า การส่งเรื่องไปศาลรัฐธรรมนูญนั้นไม่จำเป็น เพราะร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญสอดคล้องกับคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 4/2564 อยู่แล้ว และไม่เพียงพอที่จะแก้ปัญหาเพราะอุปสรรคที่แท้จริงคือเจตจำนงทางการเมือง ทางออกจึงไม่ได้อยู่ที่ศาลรัฐธรรมนูญ แต่อยู่ที่ทำเนียบรัฐบาล โดยนายกรัฐมนตรีต้องแสดงภาวะผู้นำ
ถอดบทเรียนแกะรอยโกง การเลือก สว. 67
อ่าน

ถอดบทเรียนแกะรอยโกง การเลือก สว. 67

เสวนาออนไลน์ในหัวข้อ “แกะรอยโกง การเลือก สว.67” เพื่อชี้ให้เห็นปัญหาของระบบการเลือก สว. แบบใหม่ รวมถึงมองหาความเป็นไปได้ที่จะมีการปฏิรูปกระบวนการได้มาซึ่ง สว.
รัฐสภานัดถก “ส่งศาลรธน.” รอบที่ 3 หรือไม่ ลุ้นเพื่อไทยดีลเสียงเพิ่มจากไหนได้บ้าง
อ่าน

รัฐสภานัดถก “ส่งศาลรธน.” รอบที่ 3 หรือไม่ ลุ้นเพื่อไทยดีลเสียงเพิ่มจากไหนได้บ้าง

17 มีนาคม 2568 รัฐสภามีวาระพิจารณาการจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ฉบับต่อ แต่ในครั้งนี้จะเป็นการพิจารณาส่งศาลรัฐธรรมนูญ วินิจฉัยก่อนว่า กระบวนการนี้จะเดินหน้าไปโดยยังไม่ได้ทำประชามติก่อนได้หรือไม่
ประชุมสภา ไม่มีกฎหมายห้ามอภิปรายพาดพิงบุคคลภายนอก แค่ต้องรับผิดชอบเอง
อ่าน

ประชุมสภา ไม่มีกฎหมายห้ามอภิปรายพาดพิงบุคคลภายนอก แค่ต้องรับผิดชอบเอง

กฎหมายไม่ได้ห้ามการอภิปรายในรัฐสภา ไม่ให้พาดพิงถึงบุคคลภายนอกสภา เป็นเพียงมารยาทที่หากพาดพิงไปแล้วบุคคลดังกล่าวจะไม่มีโอกาสได้ชี้แจง แต่หากพาดพิงแล้วเกิดความเสียหายใดๆ กฎหมายก็เขียนชัดว่า ผู้อภิปรายต้องรับผิดชอบ อาจถูกฟ้องร้องได้