เลือกตั้ง66: รู้ไหมว่า ผบ.เหล่าทัพ มีสิทธิโหวตนายกฯ ด้วย
อ่าน

เลือกตั้ง66: รู้ไหมว่า ผบ.เหล่าทัพ มีสิทธิโหวตนายกฯ ด้วย

อย่างที่ทราบกันดีว่า การมีส่วนร่วมในการโหวตเลือกนายกฯ ของ ส.ว. ชุดพิเศษ เป็นสิ่งที่ขัดต่อหลักการประชาธิปไตย เพราะ ส.ว.ทั้งหมดมาจากการแต่งตั้ง ซึ่งไม่ได้เป็นตัวแทนของประชาชน โดยในจำนวน ส.ว. ชุดพิเศษ 250 คน มีตัวแทนจากผู้บัญชาการเหล่าทัพ 6 คน
ยุบสภา แต่ ส.ว. ชุดพิเศษยังอยู่ถึง พ.ค. 67 และมีอำนาจเลือกนายกฯ หลังเลือกตั้ง 66
อ่าน

ยุบสภา แต่ ส.ว. ชุดพิเศษยังอยู่ถึง พ.ค. 67 และมีอำนาจเลือกนายกฯ หลังเลือกตั้ง 66

แม้ 20 มีนาคม 2566 จะมีประกาศยุบสภา องค์กรที่เปลี่ยนแปลงโดยตรงคือสภาผู้แทนราษฎร ที่จะต้องมีการเลือกตั้งใหม่ ขณะที่วุฒิสภาชุดพิเศษ ไม่ได้เปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้าง ยังมีอำนาจเลือกนายกฯ หลังเลือกตั้ง 2566 และมีวาระห้าปี ถึง พ.ค. 2567
เลือกตั้ง 66: ส.ว. “งดออกเสียง” ไม่ช่วยอะไร แต่อาจเปิดทาง “นายกฯ นอกบัญชี”
อ่าน

เลือกตั้ง 66: ส.ว. “งดออกเสียง” ไม่ช่วยอะไร แต่อาจเปิดทาง “นายกฯ นอกบัญชี”

 การ “งดออกเสียง” ของ ส.ว. ในการเลือกนายกรัฐมนตรีอาจจะดูเหมือนเป็นทางออกเพื่อการ “ปิดสวิชต์” ตัวเอง แต่ในความจริงแล้ว การงดออกเสียงจะทำให้ไม่มีแคนดิเดตนายกรัฐมนตรีคนใด ได้เสียงถึง 376 เสียง และจะเป็นการ “วีโต้” ให้แคนดิเดตนายกรัฐมนตรีจากพรรคที่ได้ ส.ส. เสียงข้างมาก ไม่อาจขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรีได้
เลือกตั้ง66: จัดตั้งรัฐบาล ขจัดขั้วอำนาจ คสช.เบ็ดเสร็จต้องซุปเปอร์แลนด์สไลด์
อ่าน

เลือกตั้ง66: จัดตั้งรัฐบาล ขจัดขั้วอำนาจ คสช.เบ็ดเสร็จต้องซุปเปอร์แลนด์สไลด์

ด้วยกติกาการเลือกนายกรัฐมนตรีที่ยังคงมีวุฒิสภาจากการแต่งตั้ง 250 คน เข้ามามีส่วนร่วม ทำให้พรรคการเมืองที่จะเป็นแกนนำในการตั้งรัฐบาล ถ้าไม่มีเสียง ส.ว.แต่งตั้งยกมือสนับสนุนก็มีแนวโน้มจะตั้งรัฐบาลยากขึ้น หรือถ้าตั้งรัฐบาลโดยใช้เสียง ส.ส. อย่างเดียวก็จะทำให้เกิดรัฐบาลผสมหลายพรรค และมีโอกาสจัดตั้งรัฐบาลข้ามขั้วสูง
#แก้รัฐธรรมนูญ season 6 เพื่อไทยเสนอปิดสวิตช์ ส.ว. เลือกนายกก่อนเลือกตั้ง 66
อ่าน

#แก้รัฐธรรมนูญ season 6 เพื่อไทยเสนอปิดสวิตช์ ส.ว. เลือกนายกก่อนเลือกตั้ง 66

ก่อนที่สภาจะหมดวาระในเดือนมีนาคม 2566 ยังมีโอกาสอีกครั้งในการ “ปิดสวิชต์ส.ว.” โดยรัฐสภามีการบรรจุวาระที่จะพิจารณาร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญของพรรคเพื่อไทยที่เสนอให้ตัดอำนาจ ส.ว. แต่งตั้งเลือกนายกรัฐมนตรี ซึ่งนับเป็นครั้งที่เจ็ดแล้วที่รัฐสภาจะลงมติปิดสวิชต์ ส.ว.
ส.ว. ขอเวลาศึกษาอีก 45 วัน ยังไม่เคาะส่งครม. ทำประชามติจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ
อ่าน

ส.ว. ขอเวลาศึกษาอีก 45 วัน ยังไม่เคาะส่งครม. ทำประชามติจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ

20 ธันวาคม 2565 วุฒิสภาเห็นชอบให้กมธ. ที่ตั้งขึ้นมาเพื่อพิจารณาศึกษาญัตติขอให้สภามีมติส่งเรื่องที่มีเหตุสมควรจะให้มีการออกเสียง ประชามติให้คณะรัฐมนตรีดำเนินการ ขยายเวลาพิจารณาออกไปอีก 45 วัน
ส.ว. เสียงไม่แตก โหวตปิดลับบันทึกประชุมกมธ.พิทักษ์สถาบันฯ ล่าสุดจัดงานสัมมนาการพีอาร์ออนไลน์
อ่าน

ส.ว. เสียงไม่แตก โหวตปิดลับบันทึกประชุมกมธ.พิทักษ์สถาบันฯ ล่าสุดจัดงานสัมมนาการพีอาร์ออนไลน์

7 พฤศจิกายน 2565 ที่ประชุมวุฒิสภมีมติมิให้เปิดเผยบันทึกการประชุม จำนวน 10 ครั้ง ของกมธ.พิทักษ์สถาบันฯ ด้วยคะแนนเสียงเห็นด้วย (ไม่ให้เปิดเผย) 129+10 = 137 เสียง ไม่เห็นด้วย (เห็นควรให้เปิดเผย) 0 เสียง งดออกเสียง 2 เสียง
8 ปี คสช. วางเครือข่ายนักการเมืองแต่งตั้งคุมประเทศ
อ่าน

8 ปี คสช. วางเครือข่ายนักการเมืองแต่งตั้งคุมประเทศ

22 พฤษภาคม 2565 คือ วันครบรอบแปดปีรัฐประหารโดย คสช. ตัวผู้นำ คสช. ทั้งพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชาพลเอกประวิตร วงษ์สุวรรณ และพลเอกอนุพงษ์ เผ่าจินดา ยังคงถืออำนาจในการปกครองประเทศไทยอยู่ รวมทั้งเครือข่ายที่ถูก คสช.แต่งตั้ง ตั้งแต่เมื่อแปดปีที่แล้วก็ยังคงมีบทบาทในการค้ำจุนอำนาจกระจายกันไปตามองค์กรต่างๆ
ครบรอบ 8 ปี คสช. ทิ้งมรดกไว้เพียบบบบบ
อ่าน

ครบรอบ 8 ปี คสช. ทิ้งมรดกไว้เพียบบบบบ

แม้ว่าในทางกฎหมาย คสช. จะสิ้นสภาพไปแล้ว แต่คนของคณะรัฐประหารก็ยังคงอยู่ในอำนาจเช่นเดิม และ “มรดก” ที่ คสช. ทิ้งไว้ในระบบกฎหมายอีกมากมาย นับจนถึงปี 2565 อำนาจในการปกครองประเทศก็ยังไม่ได้อยู่ในมือประชาชน และการใช้อำนาจรัฐก็ยังมีลักษณะกับระยะเวลา 8 ปีที่ผ่านมา
ส.ว. ชุดพิเศษทำงานครบ 3 ปี ได้เงินไปกว่า 2,000 ล้าน ผ่านกฎหมายแล้ว 35 ฉบับ
อ่าน

ส.ว. ชุดพิเศษทำงานครบ 3 ปี ได้เงินไปกว่า 2,000 ล้าน ผ่านกฎหมายแล้ว 35 ฉบับ

3 ปี ส.ว. 250 คนจากการแต่งตั้งของ คสช. ผ่านกฎหมายไป 35 ฉบับ ตีกลับอย่างน้อย 4 ฉบับ เงินเดือนแสน ผู้ช่วยแปดคน รวมใช้งบกว่าสองพันล้าน