เลือกตั้ง66 : สามทางออกการเมืองไทย เพื่อให้ได้รัฐบาลเสียงข้างมากจากประชาชน!
อ่าน

เลือกตั้ง66 : สามทางออกการเมืองไทย เพื่อให้ได้รัฐบาลเสียงข้างมากจากประชาชน!

เพื่อรักษาหลักการประชาธิปไตย ประเทศไทย ณ ขณะนี้จึงเหลือทางออกเพียงสามทางเท่านั้นที่จะทำให้เสียงของประชาชนหลังการเลือกตั้งมีความหมาย โดยตั้งแต่วันนี้จนถึงวันลงเสียงเลือกนายกรัฐมนตรียังมีวิธีรักษาหลักการได้ดังต่อไปนี้
ในสภาวะ “ไม่ปกติ” ไม่ใช่พรรครัฐบาลก็ช่วยสนับสนุนเสียงข้างมากได้
อ่าน

ในสภาวะ “ไม่ปกติ” ไม่ใช่พรรครัฐบาลก็ช่วยสนับสนุนเสียงข้างมากได้

ในสภาวะที่ไม่ปกติ ส.ว. แต่งตั้งยังสามารถกำหนดความเป็นไปของรัฐบาลใหม่ได้เช่นนี้ ส.ส. ทุกคนในฐานะที่มีที่มาซึ่งชอบธรรมจากการเลือกตั้งโดยประชาชนสามารถช่วยรักษาหลักการประชาธิปไตยเสียงข้างมากได้ โดยการยืนยันสนับสนุนแคนดิเดตนายกรัฐมนตรี จากฝ่ายเสียงข้างมาก
โหวตเลือกนายก รัฐสภาเปลี่ยนให้ ส.ส. โหวตก่อน ส.ว. เพื่อเช็คเสียงข้างมากได้
อ่าน

โหวตเลือกนายก รัฐสภาเปลี่ยนให้ ส.ส. โหวตก่อน ส.ว. เพื่อเช็คเสียงข้างมากได้

การลงคะแนนเลือกนายกรัฐมนตรีจะต้องกระทำโดยการขานชื่อสมาชิกรัฐสภาตามลำดับตัวอักษร แต่ท่ามกลางข้อเรียกร้องให้ ส.ว. แต่งตั้งเลือกนายกรัฐมนตรีตามเสียงข้างมากของ ส.ส. วิธีการหนึ่งคือให้ ส.ส. ได้เลือกนายกรัฐมนตรีก่อน และเมื่อทราบเสียงข้างมากแล้ว ก็ให้ ส.ว. แต่งตั้งลงคะแนนตาม
เหตุผลที่ต้องโหวตประยุทธ์นายก? ย้อนดูคำอภิปราย 4 ส.ว. ก่อนโหวตนายกเมื่อปี 62
อ่าน

เหตุผลที่ต้องโหวตประยุทธ์นายก? ย้อนดูคำอภิปราย 4 ส.ว. ก่อนโหวตนายกเมื่อปี 62

ก่อนจะไปถึงวันให้ความเห็นชอบผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี อยากชวนย้อนดูว่าในปี 2562 สมาชิกวุฒิสภาเคยอภิปรายสนับสนุนพล.อ.ประยุทธ์ไว้ว่าอย่างไรบ้าง
3 ความเป็นไปได้ถ้าเลือกนายกไม่ได้ ระวังได้ชื่อใหม่หรือคนนอกบัญชี
อ่าน

3 ความเป็นไปได้ถ้าเลือกนายกไม่ได้ ระวังได้ชื่อใหม่หรือคนนอกบัญชี

ความเป็นไปได้หนึ่งของการเลือกนายกรัฐมนตรีคือสมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) ที่มาจากการแต่งตั้งทั้ง 250 คน ขวางการจัดตั้งรัฐบาล โดยการงดออกเสียง เพื่อไม่ให้แคนดิเดตนายกรัฐมนตรีคนใดได้เสียงถึงกึ่งหนึ่งของรัฐสภา การโหวตนายกรัฐมนตรีนี้ถือเป็นไพ่ใบสำคัญของ ส.ว.
รวมวิวาทะ ส.ว. คิดอย่างไรเลือก “พิธา”เป็นนายก
อ่าน

รวมวิวาทะ ส.ว. คิดอย่างไรเลือก “พิธา”เป็นนายก

ในการเลือกตั้ง 14 พฤษภาคม 2566 อดีตพรรคร่วมฝ่ายค้านอย่างพรรคก้าวไกลและพรรคเพื่อไทยครองเสียงในสภามากเป็นอันดับหนึ่งและสองตามลำดับโดยมีเสียงรวมกันเกือบ 300 คน ขณะที่พรรคแกนนำรัฐบาลเดิมอย่างพรรคพลังประชารัฐได้ที่นั่ง ส.ส.เป็นอันดับที่สี่ โดยมีส.ส.เพียง 40 ที่นั่งส่วนพรรครวมไทยสร้างชาติที่ตั้งขึ้นมาใหม่เพื่อรองรับบทบาททางการเมืองของพล.อ.ประยุทธ์ นายกรัฐมนตรีรักษาการและอดีตหัวหน้าคสช.ผู้แต่งตั้งสว.
จับตา! ประชุมวุฒิสภา เคาะ ป.ป.ช. – คตง. คนใหม่ ตั้ง กมธ.สอบประวัติฯ ผู้ได้เสนอชื่อเป็น กกต. – ป.ป.ช.
อ่าน

จับตา! ประชุมวุฒิสภา เคาะ ป.ป.ช. – คตง. คนใหม่ ตั้ง กมธ.สอบประวัติฯ ผู้ได้เสนอชื่อเป็น กกต. – ป.ป.ช.

23 พฤษภาคม 2566 วุ…
กิตติศักดิ์ย้ำ ประชาชนต้องให้เกียรติ ส.ว. เลือกนายกฯ “ประชาชนเลือกท่านมา ประชาชนก็เลือก ส.ว. มา 16 ล้านคน ต้องให้เกียรติกัน”
อ่าน

กิตติศักดิ์ย้ำ ประชาชนต้องให้เกียรติ ส.ว. เลือกนายกฯ “ประชาชนเลือกท่านมา ประชาชนก็เลือก ส.ว. มา 16 ล้านคน ต้องให้เกียรติกัน”

ส.ว.กิติศักดิ์ พูดถึงการโหวตนายกของส.ว.
เลือกตั้ง66:  เวลาที่เหลืออยู่ของ ส.ว.ชุดพิเศษ ทำอะไรได้บ้าง?
อ่าน

เลือกตั้ง66: เวลาที่เหลืออยู่ของ ส.ว.ชุดพิเศษ ทำอะไรได้บ้าง?

การเลือกตั้งครั้งน…
เลือกตั้ง66: สำรวจจุดยืน ส.ว.เลือกนายกฯ โหวตตามเสียงข้างมากหรือตามใจตัวเอง
อ่าน

เลือกตั้ง66: สำรวจจุดยืน ส.ว.เลือกนายกฯ โหวตตามเสียงข้างมากหรือตามใจตัวเอง

ไอลอว์รวบรวมคำให้สัมภาษณ์ของ ส.ว.ในช่วงใกล้การเลือกตั้ง เพื่อเป็นภาพสะท้อนของแนวคิด ส.ว.ว่าหลังเลือกตั้งจะลงคะแนนเสียงให้พรรคเสียงข้างมากหรือจะไม่ลงคะแนนจนนำมาสู่สภาวะทางตันทางการเมืองต่อไป