รัฐสภามีมติส่งศาลรัฐธรรมนูญ เขียนรัฐธรรมนูญใหม่ทำประชามติกี่ครั้ง ทำตอนไหน
อ่าน

รัฐสภามีมติส่งศาลรัฐธรรมนูญ เขียนรัฐธรรมนูญใหม่ทำประชามติกี่ครั้ง ทำตอนไหน

29 มีนาคม 2567 ที่ประชุมรัฐสภามีมติเห็นชอบให้ส่งเรื่องไปยังศาลรัฐธรรมนูญ เพื่อขอให้วินิจฉัยเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ของรัฐสภาว่าการเสนอแก้รัฐธรรมนูญเพื่อจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับใหม่โดยสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ (สสร.) รัฐสภาจะมีอำนาจในการลงมติพิจารณาแก้รัฐธรรมนูญได้เลยหรือต้องทำประชามติก่อน ด้วยคะแนนเสียงเห็นด้วย 233 เสียง ไม่เห็นด้วย 103 เสียง และงดออกเสียง 170 เสียง
ผ่านฉลุย! สส. เห็นชอบร่างกฎหมาย #สมรสเท่าเทียม วาระสาม ส่งไม้ต่อให้ สว.
อ่าน

ผ่านฉลุย! สส. เห็นชอบร่างกฎหมาย #สมรสเท่าเทียม วาระสาม ส่งไม้ต่อให้ สว.

27 มีนาคม 2567 สภาผู้แทนราษฎรมีมติ “เห็นชอบ” ร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียมในวาระสาม ส่งไม้ต่อให้วุฒิสภาพิจารณาสามวาระ
ทิ้งท้ายก่อนหมดอายุ สว. ชุดพิเศษเปิดอภิปรายทั่วไป ซักฟอกรัฐบาลเศรษฐา
อ่าน

ทิ้งท้ายก่อนหมดอายุ สว. ชุดพิเศษเปิดอภิปรายทั่วไป ซักฟอกรัฐบาลเศรษฐา

ทิ้งท้ายก่อนหมดอายุ 25 มีนาคม 2567 สว. ชุดพิเศษเปิดอภิปรายทั่วไป ซักฟอกรัฐบาลเศรษฐา เป็นครั้งแรกในรอบห้าปีที่ สว. ชุดพิเศษใช้กลไกนี้ในการตรวจสอบรัฐบาล
เช็กเสียงโหวตร่างพ.ร.บ.รับรองเพศฯ พรรคร่วมรัฐบาลเสียงไม่แตกเทโหวตคว่ำ
อ่าน

เช็กเสียงโหวตร่างพ.ร.บ.รับรองเพศฯ พรรคร่วมรัฐบาลเสียงไม่แตกเทโหวตคว่ำ

เมื่อ 21 กุมภาพันธ์ 2567 สภาผู้แทนราษฎรมีมติ “ไม่รับหลักการ” ร่างพ.ร.บ.รับรองเพศฯ ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับการระบุเพศ-คำนำหน้าในเอกสารราชการ ชวนดูการลงมติ สส. รายบุคคล ใครโหวตยังไงบ้าง?
ไม่ผ่าน! สภาโหวตคว่ำร่างพ.ร.บ.รับรองเพศฯ ระบุเพศ-คำนำหน้า ตามเจตจำนง
อ่าน

ไม่ผ่าน! สภาโหวตคว่ำร่างพ.ร.บ.รับรองเพศฯ ระบุเพศ-คำนำหน้า ตามเจตจำนง

21 กุมภาพันธ์ 2567 สภาผู้แทนราษฎรมีมติ “ไม่รับหลักการ” ร่างพ.ร.บ.รับรองเพศฯ ที่เสนอโดย สส. พรรคก้าวไกล ส่งผลให้ร่างตกไปในวาระหนึ่ง
ทำงานเกือบ 5 ปี! กมธ.พิทักษ์สถาบันฯ เปิดงานชิ้นใหญ่ รายงาน 398 หน้า เรื่องคุณูปการสถาบันฯ
อ่าน

ทำงานเกือบ 5 ปี! กมธ.พิทักษ์สถาบันฯ เปิดงานชิ้นใหญ่ รายงาน 398 หน้า เรื่องคุณูปการสถาบันฯ

กมธ. พิทักษ์สถาบันฯ ออกผลงานชิ้นใหญ่ เป็นรายงานความยาว 398 หน้า เรื่อง คุณูปการของสถาบันพระมหากษัตริย์ต่อการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขและฝ่ายนิติบัญญัติ
ผ่านฉลุย! สภารับหลักการร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียม 4 ฉบับ 369 : 10 เสียง
อ่าน

ผ่านฉลุย! สภารับหลักการร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียม 4 ฉบับ 369 : 10 เสียง

21 ธันวาคม 2566 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรมีมติ "รับหลักการ" ร่างพ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ หรือร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียมทั้งสี่ฉบับ ด้วยคะแนนเสียงเห็นด้วย 369 เสียง ไม่เห็นด้วย 10 เสียง งดออกเสียง 0 เสียง และไม่ประสงค์ลงคะแนน 1 เสียง
#สมรสเท่าเทียม : เปิด 3 ร่างแก้ไขประมวลกฎหมายแพ่งฯ ปลดล็อกไม่จำกัดเฉพาะชาย-หญิง
อ่าน

#สมรสเท่าเทียม : เปิด 3 ร่างแก้ไขประมวลกฎหมายแพ่งฯ ปลดล็อกไม่จำกัดเฉพาะชาย-หญิง

21 ธันวาคม 2566 สภาผู้แทนราษฎรมีวาระพิจารณาร่างพ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ หรือร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียม โดยมีร่างที่สภาจะพิจารณาถึง 3 ฉบับ มีหลักการสำคัญทำนองเดียวกัน แต่ร่างแต่ละฉบับมีรายละเอียดแตกต่างกัน
สภาคว่ำข้อเสนอ สส. ฝ่านค้าน ขอให้ทำประชามติเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ
อ่าน

สภาคว่ำข้อเสนอ สส. ฝ่านค้าน ขอให้ทำประชามติเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ

25 ตุลาคม 2566 สภาผู้แทนราษฎรคว่ำญัตติสนอให้จัดทำประชามติเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ ซึ่งเสนอโดยสส. พรรคฝ่ายค้าน โดยที่ญัตติเรื่องนี้ก็เคยเสนอมาในสภาชุดก่อนและผ่านสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
ทบทวนมติรัฐสภาซ้ำไม่ได้ ประธาน “วันนอร์” อ้างสภาจะขาดความน่าเชื่อถือ
อ่าน

ทบทวนมติรัฐสภาซ้ำไม่ได้ ประธาน “วันนอร์” อ้างสภาจะขาดความน่าเชื่อถือ

22 สิงหาคม 2566 ที่ประชุมรัฐสภา มีนัดหมายลงมติเพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีคนที่ 30 (ครั้งที่สาม) ในช่วงแรก ก่อนเข้าสู่วาระการโหวตนายก​ฯ วันมูหะมัดนอร์ มะทา ประธานรัฐสภาอนุญาตให้ รังสิมันต์ โรม สส. บัญชีรายชื่อ พรรคก้าวไกล นำเสนอญัตติด่วน “กรณีขอให้ทบทวนมติรัฐสภาห้ามเสนอชื่อบุคคลเป็นนายกฯ ซ้ำ” ซึ่งค้างอยู่เมื่อการประชุมรัฐสภา เนื่องจากประธานรัฐสภาไม่อนุญาตให้พิจารณาญัตติดังกล่าวและสั่งเลื่อนประชุมเพื่อรอคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ