ศาลรัฐธรรมนูญถูก “ยืมมือ” รอบ 3 ตีความประชามติ “ก่อน” จัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ อาจโดนปัดไม่รับคำร้อง
อ่าน

ศาลรัฐธรรมนูญถูก “ยืมมือ” รอบ 3 ตีความประชามติ “ก่อน” จัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ อาจโดนปัดไม่รับคำร้อง

การที่รัฐสภาส่งเรื่องไปถามศาลรัฐธรรมนูญครั้งที่สามในประเด็นประชามติ “ก่อน” จัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ ทั้งๆ ที่รัฐธรรมนูญและคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 4/2564 เขียนชัดเจนแล้ว หากพิจารณาตามข้อกฎหมาย อาจได้รับคำตอบจากศาลว่า “ไม่รับคำร้อง”
ละครเพื่อไทย อภิปรายนายกฯ​ไม่จริงใจแก้ไขรัฐธรรมนูญ และปฏิรูปการเมือง
อ่าน

ละครเพื่อไทย อภิปรายนายกฯ​ไม่จริงใจแก้ไขรัฐธรรมนูญ และปฏิรูปการเมือง

พริษฐ์ วัชรสินธุ อภิปรายไม่ไว้วางใจชี้นายกฯ ไม่จริงใจปฏิรูปการเมือง ไม่ทำอะไรเลยในการแก้ไขรัฐธรรมนูญ ไม่เสนอร่างของครม. เปรียบเทียบกับความพยายามทำคาสิโนก็เห็นชัดเจน
ถอดรหัสลงมติ พรรคร่วมรัฐบาลประสานเสียงชัดเห็นด้วยส่งศาลรัฐธรรมนูญรอบที่ 3 ปมปลดล็อกเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ ด้านสว. ข้างมากขอ “งดออกเสียง”
อ่าน

ถอดรหัสลงมติ พรรคร่วมรัฐบาลประสานเสียงชัดเห็นด้วยส่งศาลรัฐธรรมนูญรอบที่ 3 ปมปลดล็อกเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ ด้านสว. ข้างมากขอ “งดออกเสียง”

ผลการลงมติส่งเรื่องไปศาลรัฐธรรมนูญรอบที่ 3 ประเด็นการเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ พรรคร่วมรัฐบาลเสียงแทบไม่แตกโหวตเห็นด้วย เสียงไม่เห็นด้วย มาจากพรรคประชาชนและพรรคเป็นธรรม และ สว. ส่วนน้อยอีก 12 เสียง ด้าน สว. ข้างมากในวุฒิสภา เลือกโหวต “งดออกเสียง”
รัฐสภาส่งศาลรัฐธรรมนูญรอบสาม ปมปลดล็อกเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ต้องทำประชามติก่อนหรือไม่
อ่าน

รัฐสภาส่งศาลรัฐธรรมนูญรอบสาม ปมปลดล็อกเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ต้องทำประชามติก่อนหรือไม่

17 มีนาคม 2568 ที่ประชุมรัฐสภามีมติส่งศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยอำนาจหน้าที่ของรัฐสภาในการจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่และการประชามติ “ก่อน” เขียนรัฐธรรมนูญใหม่ต้องทำในขั้นตอนใด
รัฐสภานัดถก “ส่งศาลรธน.” รอบที่ 3 หรือไม่ ลุ้นเพื่อไทยดีลเสียงเพิ่มจากไหนได้บ้าง
อ่าน

รัฐสภานัดถก “ส่งศาลรธน.” รอบที่ 3 หรือไม่ ลุ้นเพื่อไทยดีลเสียงเพิ่มจากไหนได้บ้าง

17 มีนาคม 2568 รัฐสภามีวาระพิจารณาการจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ฉบับต่อ แต่ในครั้งนี้จะเป็นการพิจารณาส่งศาลรัฐธรรมนูญ วินิจฉัยก่อนว่า กระบวนการนี้จะเดินหน้าไปโดยยังไม่ได้ทำประชามติก่อนได้หรือไม่
ถ่วงเวลาเส้นทางเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ “เดินอ้อม” กี่ครั้งก็ยังไม่ถึงเป้าหมาย
อ่าน

ถ่วงเวลาเส้นทางเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ “เดินอ้อม” กี่ครั้งก็ยังไม่ถึงเป้าหมาย

รัฐธรรมนูญ 2560 ถูกวางกลไกให้แก้ยากด้วยการล็อคให้ สว. ต้องได้รับความเห็นชอบและไม่ได้วางกลไกจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ว่าจะต้องทำอย่างไร ไม่เพียงแต่กลไกที่ถูกวางไว้เท่านั้น ยังมีความพยายามอื่นในการ “ถ่วงเวลา” ทั้งด้วยการตั้งกรรมการขึ้นมาศึกษา การลงมติคว่ำ และการส่งศาลรัฐธรรมนูญให้วินิจฉัยซ้ำแล้วซ้ำเล่า
10 เรื่องเด็ดในรัฐธรรมนูญไทย ที่ครั้งหนึ่งพวกเราทุกคน “เคยมี”
อ่าน

10 เรื่องเด็ดในรัฐธรรมนูญไทย ที่ครั้งหนึ่งพวกเราทุกคน “เคยมี”

หลักการหลายอย่างเคยเขียนไว้ในรัฐธรรมนูญให้ชัดเจนมาก่อน แต่พอมาถึงรัฐธรรมนูญฉบับปี 2560 กลับ “หาย” คนยุคใหม่อาจไม่อยากเชื่อว่า เรา “เคยมี” หลักการเหล่านี้อยู่ด้วย
ทำไมต้อง “เขียนรัฐธรรมนูญใหม่” โดยประชาชน แทนที่ฉบับปี 2560
อ่าน

ทำไมต้อง “เขียนรัฐธรรมนูญใหม่” โดยประชาชน แทนที่ฉบับปี 2560

การแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2560 แบบ “รายมาตรา” หรือบางประเด็น อาจจะทำได้ชั่วคราว แต่ถ้าจะแก้ไขทุกประเด็นจะต้องแก้ไขเกือบทุกมาตรา ทำให้ซับซ้อน กลายเป็นรัฐธรรมนูญที่อ่านยาก
เดินหน้าเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ไปไงต่อ? ความเป็นไปได้หลังพรรคร่วมรัฐบาล – สว. เล่นเกมสภาล่มสองวันติด
อ่าน

เดินหน้าเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ไปไงต่อ? ความเป็นไปได้หลังพรรคร่วมรัฐบาล – สว. เล่นเกมสภาล่มสองวันติด

13-14 กุมภาพันธ์ 2568 รัฐสภามีนัดพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมสองฉบับซึ่งเสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (สส.) พรรคประชาชน และ สส. พรรคเพื่อไทย เพื่อปลดล็อกรัฐธรรมนูญ 2560 มาตรา 256 เปิดช่องให้มีการเลือกตั้ง สสร.​ อย่างไรก็ดี การประชุมทั้งสองวันจบลงด้วยเหตุ “สภาล่ม” ไม่ได้เริ่มพิจารณาแก้รัฐธรรมนูญ หลังพรรคร่วมรัฐบาล – สมาชิกวุฒิสภา (สว.) ใช้แทคติกไม่แสดงตน – ไม่ร่วมพิจารณา อ้างขัดกับคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ
เช็กชื่อเรียงคน สส. พรรคร่วมรัฐบาล – สว. เล่นเกมทำสภาล่มรอบสอง ถ่วงเวลาแก้รัฐธรรมนูญ
อ่าน

เช็กชื่อเรียงคน สส. พรรคร่วมรัฐบาล – สว. เล่นเกมทำสภาล่มรอบสอง ถ่วงเวลาแก้รัฐธรรมนูญ

เช็กชื่อใครแสดงตน – ไม่แสดงตน องค์ประชุม 14 กุมภาพันธ์ 2568 พรรคร่วมรัฐบาลเกือบทั้งหมดใช้แทคติก ไม่แสดงตน ทำสภาล่มไม่ได้พิจารณาแก้รัฐธรรมนูญ