บันทึก 22 วัน ทำไมร่างจีเอ็มโอถึงล่ม?
อ่าน

บันทึก 22 วัน ทำไมร่างจีเอ็มโอถึงล่ม?

เป็นเวลาเพียง 22 วัน นับตั้งแต่วันที่ ครม.เห็นชอบ จนถึงวันที่ยกเลิกร่าง พ.ร.บ.จีเอ็มโอ ถือเป็นถอยที่รวดเร็วของรัฐบาลทหาร เมื่อเปรียบเทียบกับประเด็นอย่าง Single Gateway หรือ ชุดร่าง พ.ร.บ.ความมั่งคงดิจิทัล เราชวนย้อนดูไทม์ไลน์การเคลื่อนไหวคัดค้านร่าง พ.ร.บ.จีเอ็มโอ และการวิเคราะห์จาก วิฑูรย์ เลี่ยนจำรูญ ผู้อำนวยการมูลนิธิชีววิถี (ไบโอไทย) ว่าทำไม ร่าง พ.ร.บ.จีเอ็มโอถึงล่ม?
ร่างกฎหมาย GMO เปิดช่องผู้ประกอบการไม่ต้องรับผิด อ้าง “เหตุสุดวิสัย”
อ่าน

ร่างกฎหมาย GMO เปิดช่องผู้ประกอบการไม่ต้องรับผิด อ้าง “เหตุสุดวิสัย”

ร่างพ.ร.บ.ความปลอดภัยทางชีวภาพหรือ ร่างพ.ร.บ.จีเอ็มโอ ผ่านความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีท่ามกลางเสียงท้วงติงจากภาคประชาชนและหน่วยงานรัฐเองหลายประเด็น เช่น การใช้จีเอ็มโอในสภาพควบคุมหรือในภาคสนามที่ไม่ต้องทำ EIA หรือผู้ประกอบการไม่ต้องรับผิดชอบถ้าความเสียหายที่เกิดขึ้นเป็นเหตุสุดวิสัย รวมถึงการเขียนกฎหมายแบบเปิดโอกาสให้มีการใช้จีเอ็มโออย่างเสรี
Mining Zone  ในร่างกฎหมายแร่มีสภาพบังคับ  ไม่ใช่ดุลพินิจ
อ่าน

Mining Zone ในร่างกฎหมายแร่มีสภาพบังคับ ไม่ใช่ดุลพินิจ

เลิศศักดิ์ คำคงศักดิ์ โต้งแย้งบทความของกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ (กพร.) เรื่องอำนาจจัดทำ‘แผนแม่บทบริหารจัดการแร่’ ในร่างพ.ร.บ.แร่ ชี้ถึงแม้จะมีแผนแม่บทก็ต้องยึดการแบ่ง Mining Zone เป็นหลัก ไม่อาจเขียนแผนแม่บทกระทบการแบ่ง Mining Zone ได้
ร่างกฎหมายป่าชุมชนยกที่สาม ในยุคสภาปฏิรูปแห่งชาติ ยังคงไม่ตอบโจทย์ชุมชน
อ่าน

ร่างกฎหมายป่าชุมชนยกที่สาม ในยุคสภาปฏิรูปแห่งชาติ ยังคงไม่ตอบโจทย์ชุมชน

กว่า 25 ปีที่ร่างกฎหมายป่าชุมชนถูกผลักดันจากภาคประชาชน จนมาถึงปัจจุบันที่สภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.) หยิบยกร่างกฎหมายนี้ขึ้นมาอีกครั้ง แต่ผลตอบรับจากภาคประชาชนกลับเป็นเสียงคัดค้าน ด้วยเหตุผลว่าร่างของ สปช. บิดเบือนเจตนารมณ์ของประชาชน  
เกิดอะไรขึ้นที่นามูล-ดูนสาด เมื่อสัมปทานปิโตรเลียมเคลื่อนเข้ามา ?
อ่าน

เกิดอะไรขึ้นที่นามูล-ดูนสาด เมื่อสัมปทานปิโตรเลียมเคลื่อนเข้ามา ?

การสำรวจและผลิตปิโตรเลียมในพื้นที่บ้านนามูล-ดูนสาด เป็นที่รับรู้โดยทั่วไปว่ามีการต่อต้านจากชาวบ้าน มีทหารเข้ามาในพื้นที่ มีเจ้าหน้าที่รัฐเข้ามาเกี่ยวข้อง แต่น้อยคนนักจะรู้ว่าเกิดอะไรขึ้นที่นี่ เราชวนรู้จักกับพื้นที่แห่งนี้ว่าพวกเขากังวลอะไรกับผลกระทบหากมีการขุดเจาะปิโตรเลียม
ชีวิตของคนชุมชนเพิ่มทรัพย์พัฒนา “มันใช้ชีวิตปกติไม่ได้แล้วตอนนี้”
อ่าน

ชีวิตของคนชุมชนเพิ่มทรัพย์พัฒนา “มันใช้ชีวิตปกติไม่ได้แล้วตอนนี้”

ชุมชนเพิ่มทรัพย์พัฒนา ตั้งอยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติในจังหวัดสุราษฎร์ธานี หลังรัฐประหาร 2557 ชาวชุมชนต้องต่อสู้แย่งพื้นที่ทำกินกับนายทุน โดยการต่อสู้ที่กำลังดำเนินอยู่ชาวบ้านสงสัยว่าเจ้าหน้าที่รัฐในพื้นที่อาจร่วมมือกับนายทุนเพื่อขับไล่พวกเขา
แทนเสียงคนเดือดร้อน เมื่อรัฐ “ขอคืนพื้นที่ป่า” ของชุมชน
อ่าน

แทนเสียงคนเดือดร้อน เมื่อรัฐ “ขอคืนพื้นที่ป่า” ของชุมชน

"โนนดินแดง" เป็นพื้นที่หนึ่งที่ได้รับผลกระทบหลังจาก ประกาศคำสั่ง คสช. ฉบับที่ 64/2557 และ 66/2557 หรือ "แผนแม่บทป่าไม้" ทำให้ชาวบ้านมากมายถูกไล่ทีและไม่มีที่ทำกิน ลองฟังเสียงและเรื่องราวของชาวบ้านอีกครั้ง ว่าปัญหาในพื้นที่เป็นอย่างไร
แผ่นดินอุดมสมบูรณ์: สำรวจชุมชนที่รับผลกระทบจากรัฐ หลังรัฐประหาร 2557
อ่าน

แผ่นดินอุดมสมบูรณ์: สำรวจชุมชนที่รับผลกระทบจากรัฐ หลังรัฐประหาร 2557

หลังรัฐประหาร 22 พฤษภาคม 2557 ชุนชนหลายแห่งถูกละเมิดสิทธิจากเจ้าหน้าที่รัฐ เช่น การที่เจ้าหน้าที่รัฐบุกไล่รื้อชุมชน ตามนโยบายของรัฐบาล หรือ การที่เจ้าหน้าที่รัฐเป็นเครื่องมืออำนวยความสะดวกให้นายทุน ซึ่งมีชุมชนอย่างน้อย  22 แห่ง ที่ได้รับผลกระทบ
ร่าง พ.ร.บ.แร่ ‘เพราะประโยชน์ของชาติ (นายทุน ข้าราชการ)? ที่สำคัญกว่าชีวิตคน’
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.แร่ ‘เพราะประโยชน์ของชาติ (นายทุน ข้าราชการ)? ที่สำคัญกว่าชีวิตคน’

21 ต.ค. 2557 ครม.อนุมัติ หลักการร่าง พ.ร.บ.แร่ เสียงคัดค้านจากประชาชนผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการทำเหมืองแร่ก็ดังขึ้น ประชาชนในหลายพื้นที่เรียกร้อง ให้ชะลอร่างกฎหมายฉบับนี้เข้าสู่ สนช. ให้ภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม และรอสภาจากการเลือกตั้ง ขณะนี้ร่างกฎหมายฉบับดังกล่าวอยู่ในการดูแลของคณะกรรมการกฤษฎีกา     
“ติ่ง” กปปส. ขอปลุก “ความตื่นรู้” ปฏิรูปคอร์รัปชั่นในกิจการพลังงาน
อ่าน

“ติ่ง” กปปส. ขอปลุก “ความตื่นรู้” ปฏิรูปคอร์รัปชั่นในกิจการพลังงาน

คนกลุ่มหนึ่งเรียกร้องการปฏิรูปมาก่อนการชุมนุมของ กปปส. นานแล้ว พวกเขามีประเด็นเฉพาะในการทำงานคือ "กิจการพลังงาน" ข้อเสนอของพวกเขาชัดเจน แต่ยังขาดอำนาจทางการเมือง วันนี้พวกเขาจึงหวังเกาะขบวนการปฏิรูปของกปปส. แต่ยังไม่ประมาทว่าจะสำเร็จในเร็ววัน