สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: ตัด ‘สิทธิในสิ่งแวดล้อมที่ดี’ โบกมือลาองค์การอิสระด้านสิ่งแวดล้อม
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: ตัด ‘สิทธิในสิ่งแวดล้อมที่ดี’ โบกมือลาองค์การอิสระด้านสิ่งแวดล้อม

ยังมีความเห็นที่แตกต่างกันในสังคมว่า ร่างรัฐธรรมนูญ ฉบับลงประชามติ จะช่วยคุ้มครองและทำให้สิทธิของชุมชนใช้ได้จริงในทางปฏิบัติมากขึ้นหรือน้อยลง เนื่องจากร่างนี้ ‘ตัดสิทธิ’ การแสดงความคิดเห็นของประชาชนต่อโครงการของรัฐ และตัดขั้นตอนการขอความเห็นชอบจากองค์กรอิสระด้านสิ่งแวดล้อมก่อนดำเนินโครงการต่างๆ
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ “ความหวัง” หรือ “หายนะ”?
อ่าน

โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ “ความหวัง” หรือ “หายนะ”?

กว่าห้าทศวรรษรัฐบาลพยายามทั้งเดินหน้าทั้งหยุดโครงการโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ หนึ่งก็ด้วยการต่อต้านในพื้นที่ต่างๆ อีกหนึ่งก็คือการเปลี่ยนทางเลือกใช้พลังงานในระดับโลก ตอนนี้ยุคของรัฐบาล คสช. แผนการจัดสร้างโรงไฟฟ้าถูกอนุมัติอีกครั้ง สำหรับประเทศไทยจะเป็น “ความหวัง” หรือ “หายนะ”?
ปัญหาชาวบ้านกับการต่อต้านรัฐประหาร
อ่าน

ปัญหาชาวบ้านกับการต่อต้านรัฐประหาร

อะไรเป็นเหตุปัจจัยให้ขบวนประชาชนทำการสนับสนุนรัฐประหาร? ทำไมขบวนประชาชนถึงไม่ต่อสู้เคียงบ่าเคียงไหล่ไปกับขบวนการประชาธิปไตย  หรือต่อสู้เพื่อให้ได้มาซึ่งประชาธิปไตย  ขับไล่รัฐประหาร  แต่กลับต่อสู้เคียงบ่าเคียงไหล่ไปกับขบวนการชาตินิยม  นิยมอำนาจทหารและอนุรักษ์นิยมเพื่อขับไล่ประชาธิปไตยแทน?
พื้นที่ป่าสงวน สร้อยทองที่คอ เกี่ยวยังไงกับ สนช. และ พ.ร.บ.แร่?
อ่าน

พื้นที่ป่าสงวน สร้อยทองที่คอ เกี่ยวยังไงกับ สนช. และ พ.ร.บ.แร่?

ร่าง พ.ร.บ.แร่ฉบับใหม่ตั้งเป้าให้มีเขตทรัพยากรแร่ และอำนวยความสะดวกให้เอกชนขอสัมปทาน หากร่างผ่านการขอสัมปทานทำเหมืองแร่จะง่ายขึ้นมาก และพื้นที่ที่จะได้รับผลกระทบก็จะเพิ่มขึ้นอย่างมโหฬาร ส่วนหนึ่งเพราะร่าง พ.ร.บ.นี้อนุญาตให้ทำเหมืองแร่ในพื้นที่หวงห้าม อย่างป่าสงวนหรือที่ ส.ป.ก.ได้
ลักษณะกฎหมายในยุคเผด็จการทหาร คสช.
อ่าน

ลักษณะกฎหมายในยุคเผด็จการทหาร คสช.

ในสังคมอารยะ รัฐจะต้องไม่ทำลายอุดมคติเพื่อมวลมนุษยชาติและการใช้อำนาจจะต้องยึดโยงกับประชาชน ไม่ใช่เพื่อสร้างระบบราชการอันเข้มแข็งที่ทำลายความรู้สึกมั่นคงปลอดภัยในการใช้ชีวิตของประชาชน
ร่าง พ.ร.บ.แร่ “รัฐไม่ต้องเผยข้อมูล หากกระทบความมั่นคง”
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.แร่ “รัฐไม่ต้องเผยข้อมูล หากกระทบความมั่นคง”

ร่าง พ.ร.บ.แร่ เข้าสู่วาระการประชุม สนช. 11 มี.ค. 59 เป็นการปรับปรุง พ.ร.บ.แร่ พ.ศ. 2510 และ พ.ร.บ.พิกัดอัตราค่าภาคหลวงแร่ พ.ศ. 2509 เหตุผลการแก้ไขเนื่องจากเนื้อหากฎหมายเดิมบางส่วนไม่เหมาะสมกับปัจจุบัน แม้มีการแก้ไขแต่เนื้อหาหลายส่วนยังคงมีปัญหา เพราะดูจะเอื้อประโยชน์ให้กับนายทุนมากกว่า
ร่าง พ.ร.บ.นิวเคลียร์ฯ เข้า สนช. เปิดช่องตั้งโรงงานนิวเคลียร์ได้ แต่หลักเกณฑ์ความปลอดภัยยังไม่ชัด
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.นิวเคลียร์ฯ เข้า สนช. เปิดช่องตั้งโรงงานนิวเคลียร์ได้ แต่หลักเกณฑ์ความปลอดภัยยังไม่ชัด

ร่าง พ.ร.บ.นิวเคลียร์ ที่ สนช.กำลังพิจารณา ชัดเจนว่าเปิดช่องตั้งสถานประกอบการฯ ผลิตพลังงานนิวเคลียร์ได้ แต่หลักเกณฑ์การควบคุมหลายเรื่อง เช่น การทิ้งกากกัมมันตภาพรังสี ยังไม่ชัดต้องรอดูกฎกระทรวง แม้กำหนดให้ต้องทำรายงานด้านสิ่งแวดล้อม แต่ก็ยังไม่ใช่ EIA
สิทธิชุมชนในร่าง รธน.หาย ภาคประชาชนหวั่นอนาคตไร้ช่องทางเรียกร้องสิทธิ
อ่าน

สิทธิชุมชนในร่าง รธน.หาย ภาคประชาชนหวั่นอนาคตไร้ช่องทางเรียกร้องสิทธิ

ภาคประชาชนระบุในงานเสวนา “เมื่อสิทธิชุมชนในร่างรัฐธรรมนูญหายไป ชาวบ้านจะพึ่งพาใคร?” เมื่อร่างรัฐธรรมนูญ 2559 ไม่เขียนเรื่องสิทธิชุมชน ชาวบ้านไร้สิทธิปกป้องทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หวั่นหลังรัฐธรรมนูญผ่านประชามติ คำสั่งหัวหน้า คสช. ทั้งหมดกลายเป็นกฎหมาย ทั้งที่มีเนื้อหาละเมิดสิทธิชัดเจนและปิดกั้นเสียงประชาชน
‘โอนคดีสิ่งแวดล้อม’ ไปศาลแพ่ง หนุนความเป็นธรรมหรือสร้างภาระ?
อ่าน

‘โอนคดีสิ่งแวดล้อม’ ไปศาลแพ่ง หนุนความเป็นธรรมหรือสร้างภาระ?

พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ฉบับที่ 28 ปี 2558 กำหนดให้โอนคดีที่มีลักษณะเป็นคดีสิ่งแวดล้อม จากศาลชั้นต้นอื่นไปยังศาลแพ่งได้ แต่ยังมีข้อถกเถียงว่าการโอนคดีจะเป็นการเพิ่มภาระ หรือส่งเสริมความเป็นธรรมตามที่ตั้งใจไว้หรือไม่