rice field
อ่าน

ม.44 ล้ม คำพิพากษาศาลปกครอง ปลดล๊อกที่ดิน ส.ป.ก. เอื้อธุรกิจพลังงาน

หลายปีที่ผ่านมา กิจการเหมืองแร่ ปิโตรเลียม พลังงานกังหันลม ไม่สามารถทำในที่ดิน ส.ป.ก. ได้เนื่องจากติดคำสั่งศาลปกครองที่ให้ใช้ที่ดิน ส.ป.ก. เพื่อการเกษตรเท่านั้น ทำให้กิจการในหลายพื้นที่ต้องหยุดชะงัก คสช. จึงแก้ไขปัญหาติดขัดเช่นนี้ ด้วยอำนาจพิเศษ ม.44
Environment Court
อ่าน

ศาลสิ่งแวดล้อมใหม่ จำเป็นจริงหรือ?

สปท. ได้มีมติเห็นชอบรายงาน เรื่อง แนวทางการจัดตั้งศาลสิ่งแวดล้อม ขึ้นเป็นศาลชำนัญพิเศษในศาลยุติธรรม “เพื่อพัฒนานิติรัฐและประชาธิปไตยด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อให้การแก้ไขปัญหาคดีสิ่งแวดล้อมเบ็ดเสร็จในศาลเดียว โดยข้อเสนอข้างต้น มีปัญหาสำคัญอย่างน้อยสี่ประการ 
Letter Submission
อ่าน

แถลงการณ์เครือข่ายประชาชนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ข้อเสนอต่อการแก้พ.ร.บ.สิ่งแวดล้อมฯ

ขณะที่ภาครัฐกำลังเดินหน้าแก้ พ.ร.บ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2535 ด้านภาคประชาชนก็ห่วง ระบบ EIA ที่เดิมล้มเหลวอยู่จะถูกแก้ให้ถอยหลัง ไม่ก้าวหน้า แถมจะยัดคำสั่งตามมาตรา 44 ที่ให้ประมูลก่อน EIA ผ่าน เข้ามาอยู่ในร่างพ.ร.บ.นี้อีก จึงออกแถลงการณ์คัดค้าน
P-move statement on Park Bill
อ่าน

P-move แถลงจุดยืนร่างพ.ร.บ.อุทยานฯ ไม่เอื้อให้ชุมชนแสดงความคิดเห็น

แถลงการณ์ขบวนการประชาชนเพื่อสังคมที่เป็นธรรม และเครือข่ายองค์กรพันธมิตร เรื่องขอให้รัฐบาลชะลอการผลักดันร่าง พ.ร.บ. 4 ฉบับ และเปิดให้ชุมชนได้มีส่วนร่วมตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญในมาตรา 77
Seminar on Park bill by P-move
อ่าน

ตัวแทนเครือข่ายกะเหรี่ยงฯ มอง รัฐออกกฎหมายมองประชาชนโง่ จน อ่อนแอ รัฐต้องทำให้เท่านั้น

12 มิ.ย.2560 P-move พร้อมเครือข่ายภาคประชาชนพันธมิตร จัดเสวนาเกี่ยวกับร่างพ.ร.บ.อุทยานแห่งชาติ และ ร่างพ.ร.บ.สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า สะท้อนข้อบ่งพร่องของเนื้อหาและกระบวนของร่างกฎหมายทั้งสองฉบับ ในแง่มุมต่างๆ ดังนี้
Mining Map
อ่าน

การแก้ปัญหามลพิษที่ไปไม่สุดของ พ.ร.บ.แร่ ฉบับใหม่

หลังจากเกิดกระแสต่อต้านมาอย่างต่อเนื่อง ในที่สุดพ.ร.บ.แร่ฉบับใหม่ ก็ประกาศใช้เมื่อต้นปี 2560 หนึ่งในจุดเด่น คือ มาตรการปกป้องสิ่งแวดล้อมไว้ที่หลากหลายขึ้น รวมทั้งเปลี่ยนผู้มีอำนาจตัดสินใจเป็นรูปแบบคณะกรรมการ แต่ก็ยังมีจุดอ่อนแบบเนียน ๆ ของกฎหมายฉบับนี้
mining bill
อ่าน

สรุปเสวนา: วิเคราะห์ร่าง พ.ร.บ.แร่ เอื้อเอกชนทำเหมืองง่าย ภาคประชาชนคัดค้าน

เครือข่ายประชาชนผู้เป็นเจ้าของแร่ของประเทศไทย จัดเวทีวิเคราะห์กฎหมายแร่ฉบับใหม่ ในหัวข้อ “พ.ร.บ.แร่ นี่มันแย่จริงๆ” นอกจากนี้ตัวแทนเครือข่ายประชาชนผู้รับผลกระทบจากหกพื้นที่สะท้อนปัญหาและคัดค้านร่าง พ.ร.บ.แร่
protest against mining
อ่าน

ค้านร่าง พ.ร.บ.แร่ ฉบับ คสช. หวั่นชุมชนล่มสลาย

รวมพลังชาวบ้านหลายพื้นที่สัมปทานเหมืองแร่เมืองเลย ค้านร่างกฎหมายแร่ฉบับ คสช. หวั่น Mining Zone จะก่อให้เกิดความล่มสลายอย่างรุนแรงต่อชุมชนทั่วประเทศได้ เพราะเปิดทางให้ทำเหมืองได้ในพื้นที่ป่าสงวน การลดขั้นตอนการขอสัมปทานสำรวจและทำเหมืองแร่ให้สั้นที่สุดเท่าที่จะสั้นได้ เพื่อความรวดเร็วต่อเอกชนที่จะเข้ามาลงทุน โดยเฉพาะขั้นตอนปรึกษาหารือกับประชาชนในพื้นที่สัมปทาน
Community Rights
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: ตัด ‘สิทธิในสิ่งแวดล้อมที่ดี’ โบกมือลาองค์การอิสระด้านสิ่งแวดล้อม

ยังมีความเห็นที่แตกต่างกันในสังคมว่า ร่างรัฐธรรมนูญ ฉบับลงประชามติ จะช่วยคุ้มครองและทำให้สิทธิของชุมชนใช้ได้จริงในทางปฏิบัติมากขึ้นหรือน้อยลง เนื่องจากร่างนี้ ‘ตัดสิทธิ’ การแสดงความคิดเห็นของประชาชนต่อโครงการของรัฐ และตัดขั้นตอนการขอความเห็นชอบจากองค์กรอิสระด้านสิ่งแวดล้อมก่อนดำเนินโครงการต่างๆ
Is Nuclear Power Plant Hope or Disaster?
อ่าน

โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ “ความหวัง” หรือ “หายนะ”?

กว่าห้าทศวรรษรัฐบาลพยายามทั้งเดินหน้าทั้งหยุดโครงการโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ หนึ่งก็ด้วยการต่อต้านในพื้นที่ต่างๆ อีกหนึ่งก็คือการเปลี่ยนทางเลือกใช้พลังงานในระดับโลก ตอนนี้ยุคของรัฐบาล คสช. แผนการจัดสร้างโรงไฟฟ้าถูกอนุมัติอีกครั้ง สำหรับประเทศไทยจะเป็น “ความหวัง” หรือ “หายนะ”?