สนช. พิจารณาร่าง พ.ร.บ.ทรัพยากรน้ำ ยืดเยื้อ – พร้อมเพิ่มมาตราใหม่ระบุชัด ห้ามเก็บเงิน
อ่าน

สนช. พิจารณาร่าง พ.ร.บ.ทรัพยากรน้ำ ยืดเยื้อ – พร้อมเพิ่มมาตราใหม่ระบุชัด ห้ามเก็บเงิน

ในยุคของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) มีความพยายามในการบริหารจัดการน้ำด้วยการใช้ ม.44 ออกคำสั่งหัวหน้า คสช. ที่ 46/2560 ตั้งสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (สทนช.) เป็นหน่วยงานขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี ทำหน้าที่เกี่ยวกับการบริการจัดการน้ำ และมีอํานาจจัดตั้งศูนย์เฉพาะกิจชั่วคราว และขอเจ้าหน้าที่ในส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐ มาปฏิบัติหน้าที่ได้ตามความจําเป็นและเหมาะสม รวมถึงการแก้ไขและพยายามผ่านร่างกฎหมายทรัพยากรน้ำ ทว่าเวลาผ่านมาเนิ่นนานนับปี ที่ประชุมก็ยังไม่มีมติผ่านร่างดังกล่าว เนื่องจากมีการถกเถียงและอภิปรายที่ยังไม่ลงตัว 
คุยกับ “ไพฑูรย์ สร้อยสด” ผู้ได้รับผลกระทบจากคำสั่งคสช.ที่ให้อำนาจทหารเข้ามามีบทบาทในการ “ทวงคืนผืนป่า”
อ่าน

คุยกับ “ไพฑูรย์ สร้อยสด” ผู้ได้รับผลกระทบจากคำสั่งคสช.ที่ให้อำนาจทหารเข้ามามีบทบาทในการ “ทวงคืนผืนป่า”

ปัญหาเรื่องป่าไม้ เกี่ยวกับการรุกล้ำที่ดินในประเทศไทยมีความยืดเยื้อมายาวนาน ซึ่งเป็นผลกระทบมาจากนโยบายของรัฐในแต่ละช่วง ในยุคที่ประเทศอยู่ภายใต้การปกครองของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ(คสช.) นโยบาย "ทวงคืนผืนป่า” ส่งผลให้ชาวบ้านที่อาศัยในเขตป่าได้รับความเดือดร้อนและต้องอพยพออกจากพื้นที่ที่เคยอยู่อาศัยมาก่อนหน้านี้ 
รู้หรือไม่? มีคำสั่งหัวหน้า คสช. แบบนี้ ที่เสี่ยงกระทบสิ่งแวดล้อม
อ่าน

รู้หรือไม่? มีคำสั่งหัวหน้า คสช. แบบนี้ ที่เสี่ยงกระทบสิ่งแวดล้อม

การพยายามสร้างเขตเศรษฐกิจพิเศษของ คสช. โดยอาศัยอำนาพิเศษจากมาตรา 44 นำมาซึ่งความกังวลว่า จะเกิดผลกระทบต่อสิทธิชุมชนและสิ่งแวดล้อม เพราะ คสช. ดูเหมือนจะเอาให้ได้ สั่งข้ามหัวทั้งผังเมือง ทั้ง EIA ไม่ต้องสร้างการมีส่วนร่วมใดๆ ทั้งสิ้น
อ่าน

“ปลูกป่า” ทับพื้นที่ไร่หมุนเวียนของชาวกะเหรี่ยง อ.ท่าสองยาง

ข่าวจากตำบลแม่วะหลวง จังหวัดตาก นายอำเภอท่าสองยางเดินหน้านโยบายปลูกป่า โดยปลูกต้นไผ่ทับที่ดินที่ชาวบ้านใช้ทำไร่หมุนเวียน และปลูกข้าวไว้แล้ว
สี่ปี คำสั่ง คสช. “ทวงคืนผืนป่า” ล้มเหลวเรื่องการเพิ่มพื้นที่ป่า ทำชาวบ้านเดือดร้อน
อ่าน

สี่ปี คำสั่ง คสช. “ทวงคืนผืนป่า” ล้มเหลวเรื่องการเพิ่มพื้นที่ป่า ทำชาวบ้านเดือดร้อน

คำสั่ง คสช. ที่ 64/2557 และ 66/2557 ให้อำนาจทหารเข้าทวงคืนผืนป่า ใช้มาครบสี่ปีแล้ว เครือข่ายประชาชนถอดบทเรียน พบผลกระทบชาวบ้านถูกไล่ออกจากที่ดิน ถูกจับกุมดำเนินคดีอย่างมาก ผ่านมาสี่ปีปัญหายังไม่จบแต่ก็ทวงคืนผืนป่าไม่ได้ตามเป้า จึงเป็นนโยบายที่ล้มเหลว
ถอดบทเรียน คสช. ใช้มาตรา 44 สร้างเขตเศรษฐกิจพิเศษ ข้ามหัวสิทธิชุมชน กับ เดชรัต สุขกำเนิด
อ่าน

ถอดบทเรียน คสช. ใช้มาตรา 44 สร้างเขตเศรษฐกิจพิเศษ ข้ามหัวสิทธิชุมชน กับ เดชรัต สุขกำเนิด

คสช. ใช้อำนาจพิเศษตามมาตรา 44 ออกคำสั่งมากมายหลายเรื่องเพื่อจัดการทรัพยากร โดยตัดสินใจไปก่อนไม่มีส่วนร่วมจากประชาชนในท้องถิ่น เช่น การสร้างเขตเศรษฐกิจพิเศษ การยกเว้นผังเมือง และข้ามขั้นตอนอีไอเอ อ.เดชรัต สุขกำเนิด พาชำแหละผลกระทบที่อาจตามมาจากอำนาจพิเศษแบบนี้
อ่าน

ร่างยุทธศาสตร์ชาติ ด้านสิ่งแวดล้อม: ตั้งเป้าใช้พลังงานหมุนเวียนร้อยละ 40

การจัดทำร่างยุทธศาสตร์ชาติ ด้านสิ่งแวดล้อม รัฐบาล คสช. แต่งตั้งธนวัฒน์ จารุพงษ์สกุล ประธานคณะกรรมการฯ และมีคณะกรรมการอีก 8 คน หลังจัดรับฟังความคิดเห็นประชาชนร่างยุทธศาสตร์ชาติฉบับนี้จะถูกแก้ไขเพิ่มเติมก่อนจะถูกเสนอต่อคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ
กฎหมายการชุมนุมสาธารณะกับการปกป้องชุมชน
อ่าน

กฎหมายการชุมนุมสาธารณะกับการปกป้องชุมชน

พ.ร.บ.ชุมนุมฯ เป็นกฎหมายใหม่ที่บัญญัติเงื่อนไขในการชุมนุมของประชาชนที่ควรจะมุ่งคุ้มครองต่อเสรีภาพการชุมนุมของประชาชน แต่กลายเป็นการสร้างภาระและหน่วงเหนี่ยวการใช้เสรีภาพของประชาชน ทั้งตัวบทกฎหมายยังปรากฏช่องโหว่ที่นำไปสู่การเอาผิดผู้ใช้เสรีภาพได้โดยง่าย นำไปสู่การพูดคุยเพื่อหาทางออกของการบังคับใช้กฎหมายฉบับนี
#Attitude adjusted?: ประสิทธิ์ชัย แกนนำค้านโรงไฟฟ้าถ่านหินกับการทัศนศึกษา”คุกทหาร”
อ่าน

#Attitude adjusted?: ประสิทธิ์ชัย แกนนำค้านโรงไฟฟ้าถ่านหินกับการทัศนศึกษา”คุกทหาร”

การชุมนุมในเดือนกุมภาพันธ์ 2560 ครั้งนี้ส่งผลให้ประสิทธิ์ชัยและพวกอีก…คนถูกคุมตัวไปปรับทัศนคติในค่ายทหารเป็นเวลาหนึ่งคืน
แถลงค้าน ร่าง พ.ร.บ.สิ่งแวดล้อมฯ ฉบับใหม่ ไม่แก้ปัญหาและขัดจุดประสงค์การทำ EIA
อ่าน

แถลงค้าน ร่าง พ.ร.บ.สิ่งแวดล้อมฯ ฉบับใหม่ ไม่แก้ปัญหาและขัดจุดประสงค์การทำ EIA

วันที่ 7 ธันวาคม 2560 ที่ศูนย์ประชุมพญาไทพลาซ่า จึงมีการจัดเสวนาเรื่อง “วิเคราะห์ ร่าง พ.ร.บ. สิ่งแวดล้อม กับ เจตนารมณ์ตามรัฐธรรมนูญ 2560” โดยมีผู้ร่วมพูดคุยประกอบด้วย ดร.สมิทธ์ ตุงคะสมติ อาจารย์วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต, ดร.ไชยณรงค์ เศรษฐเชื้อ อาจารย์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, รศ.ดร.เรณู เวชรัชต์พมิล เครือข่ายนักวิชาการ EHIA อดีตอาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร