“ทวงคืนผืนป่า” ยังไม่จบ พื้นที่ “บ้านน้ำพุ” ยังถูกไล่ออกจากที่ดิน
อ่าน

“ทวงคืนผืนป่า” ยังไม่จบ พื้นที่ “บ้านน้ำพุ” ยังถูกไล่ออกจากที่ดิน

ชาวบ้านบ้านน้ำพุ อ.ด่านซ้าย จ.เลย ขอความเป็นธรรม ให้รังวัดพิสูจน์สิทธิในที่ดินกันใหม่ หลังป่าไม้เข้าตรวจยึดตั้งแต่ปี 2558 โดยไม่แจ้งให้ชาวบ้านที่ทำกินอยู่เข้าแสดงหลักฐานการครอบครอง และนำไปสู่การตัดฟัน เผา พืชผลของชาวบ้านช่วงปลายปี 2562
เล่าเรื่องเก่าใหม่ใน พ.ร.บ.อุทยาน 2562
อ่าน

เล่าเรื่องเก่าใหม่ใน พ.ร.บ.อุทยาน 2562

พ.ร.บ.อุทยานแห่งชาติ มีการแก้ไขเพิ่มเติมสองครั้ง ไทยมีหน้าที่ต้องออกกฎหมายใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับข้อตกลงระหว่างประเทศ
เปิดดูแนวคิดการแก้ปัญหาฝุ่น PM2.5 ในแผนยุทธศาสตร์ 20 ปี พบว่า … ไม่มี
อ่าน

เปิดดูแนวคิดการแก้ปัญหาฝุ่น PM2.5 ในแผนยุทธศาสตร์ 20 ปี พบว่า … ไม่มี

ท่ามกลางสภาพปัญหาอากาศเป็นพิษ เต็มไปด้วยฝุ่นควันขนาดเล็กในเมืองใหญ่ โดยเฉพาะกรุงเทพมหานครที่นับวันดูเหมือนปัญหาจะยิ่งหนักขึ้น
วิเคราะห์ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชนจาก “พ.ร.บ.โรงงาน พ.ศ.2562”
อ่าน

วิเคราะห์ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชนจาก “พ.ร.บ.โรงงาน พ.ศ.2562”

บทความของ ‘สมนึก จงมีวศิน’ นักวิชาการอิสระด้านสิ่งแวดล้อม ที่มองว่ากฎหมายพ.ร.บ.โรงงาน ปี 2562 อาจจะเป็นระเบิดเวลาลูกถัดไปทางสิ่งแวดล้อม
รวม 6 ผลงาน ส่งเสริมทุน-ลดทอนสิ่งแวดล้อม ภายใต้เงา คสช.
อ่าน

รวม 6 ผลงาน ส่งเสริมทุน-ลดทอนสิ่งแวดล้อม ภายใต้เงา คสช.

หลัง คสช. เข้ายึดอำนาจ คสช. พยายามกระตุ้นเศรษฐกิจและพยายามส่งเสริมการลงทุนภายในประเทศ ไม่ว่าจะเป็น การผลักดันเรื่อง "เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ" "การจัดการระบบสัปทานแร่" "การกำกับดูแลโรงงาน"  แต่ปัญหาของการพยายามกระตุ้นเศรษฐกิจภายใต้ คสช. ได้ลดทอนมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมลงเพื่ออำนวยความสะดวกให้กลุ่มทุน
ร่าง พ.ร.บ. โรงงาน: ระเบิดเวลาของชุมชนและสิ่งแวดล้อม
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ. โรงงาน: ระเบิดเวลาของชุมชนและสิ่งแวดล้อม

ร่าง พ.ร.บ.โรงงานฉบับใหม่ เปิดช่องให้มีการปลดล็อคโรงงานขนาดเล็กออกจากการควบคุม การตัดอำนาจกรมโรงงานเข้าไปควบคุมตรวจสอบ หรือ เปิดช่องเอกชนตรวจสอบโรงงานกันเอง-ช่วยกันเอง ซึ่งทำให้ถูกวิพากษ์วิจารณ์ว่าเป็นการลดมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมและชุมชน จนมีภาคประชาชนออกมาคัดค้าน
เรายังไม่มีกฎหมายคุ้มครองต้นไม้ใหญ่ในเมือง เสนอกระจายอำนาจให้ท้องถิ่นดูแล
อ่าน

เรายังไม่มีกฎหมายคุ้มครองต้นไม้ใหญ่ในเมือง เสนอกระจายอำนาจให้ท้องถิ่นดูแล

ศูนย์บริการวิชาการทางกฎหมาย คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จัดงานบรรยายสาธารณะหัวข้อ กฎหมายว่าด้วยการอนุรักษ์ป่าในชุมชนเมือง โดย อ.ปีดิเทพ อยู่ยืนยง คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยเห็นว่าเรายังไม่มีกฎหมายคุ้มครองต้นไม้ใหญ่ในเมือง จึงเสนอกระจายอำนาจให้ท้องถิ่นดูแล
สนช. พิจารณาร่าง พ.ร.บ.ทรัพยากรน้ำ ยืดเยื้อ – พร้อมเพิ่มมาตราใหม่ระบุชัด ห้ามเก็บเงิน
อ่าน

สนช. พิจารณาร่าง พ.ร.บ.ทรัพยากรน้ำ ยืดเยื้อ – พร้อมเพิ่มมาตราใหม่ระบุชัด ห้ามเก็บเงิน

ในยุคของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) มีความพยายามในการบริหารจัดการน้ำด้วยการใช้ ม.44 ออกคำสั่งหัวหน้า คสช. ที่ 46/2560 ตั้งสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (สทนช.) เป็นหน่วยงานขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี ทำหน้าที่เกี่ยวกับการบริการจัดการน้ำ และมีอํานาจจัดตั้งศูนย์เฉพาะกิจชั่วคราว และขอเจ้าหน้าที่ในส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐ มาปฏิบัติหน้าที่ได้ตามความจําเป็นและเหมาะสม รวมถึงการแก้ไขและพยายามผ่านร่างกฎหมายทรัพยากรน้ำ ทว่าเวลาผ่านมาเนิ่นนานนับปี ที่ประชุมก็ยังไม่มีมติผ่านร่างดังกล่าว เนื่องจากมีการถกเถียงและอภิปรายที่ยังไม่ลงตัว 
คุยกับ “ไพฑูรย์ สร้อยสด” ผู้ได้รับผลกระทบจากคำสั่งคสช.ที่ให้อำนาจทหารเข้ามามีบทบาทในการ “ทวงคืนผืนป่า”
อ่าน

คุยกับ “ไพฑูรย์ สร้อยสด” ผู้ได้รับผลกระทบจากคำสั่งคสช.ที่ให้อำนาจทหารเข้ามามีบทบาทในการ “ทวงคืนผืนป่า”

ปัญหาเรื่องป่าไม้ เกี่ยวกับการรุกล้ำที่ดินในประเทศไทยมีความยืดเยื้อมายาวนาน ซึ่งเป็นผลกระทบมาจากนโยบายของรัฐในแต่ละช่วง ในยุคที่ประเทศอยู่ภายใต้การปกครองของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ(คสช.) นโยบาย "ทวงคืนผืนป่า” ส่งผลให้ชาวบ้านที่อาศัยในเขตป่าได้รับความเดือดร้อนและต้องอพยพออกจากพื้นที่ที่เคยอยู่อาศัยมาก่อนหน้านี้ 
รู้หรือไม่? มีคำสั่งหัวหน้า คสช. แบบนี้ ที่เสี่ยงกระทบสิ่งแวดล้อม
อ่าน

รู้หรือไม่? มีคำสั่งหัวหน้า คสช. แบบนี้ ที่เสี่ยงกระทบสิ่งแวดล้อม

การพยายามสร้างเขตเศรษฐกิจพิเศษของ คสช. โดยอาศัยอำนาพิเศษจากมาตรา 44 นำมาซึ่งความกังวลว่า จะเกิดผลกระทบต่อสิทธิชุมชนและสิ่งแวดล้อม เพราะ คสช. ดูเหมือนจะเอาให้ได้ สั่งข้ามหัวทั้งผังเมือง ทั้ง EIA ไม่ต้องสร้างการมีส่วนร่วมใดๆ ทั้งสิ้น