TDRI กับข้อเสนอปฏิรูประบบกฎหมาย ‘ล้าหลัง-ล้นเกิน’ สร้างภาระ 2 แสนล้าน
อ่าน

TDRI กับข้อเสนอปฏิรูประบบกฎหมาย ‘ล้าหลัง-ล้นเกิน’ สร้างภาระ 2 แสนล้าน

TDRI เทียบระบบราชการไทยกับการใช้งานคอมพิวเตอร์ โดยกล่าวถึงสิ่งที่น่าเป็นห่วงคือ รัฐไทยมีขีดความสามารถในการรับมือกับภาวะวิกฤติต่างๆ ลดลง เพราะความไม่มีประสิทธิภาพของระบบราชการ ที่เปรียบเสมือน “ระบบปฏิบัติการ” ของประเทศ เป็นระบบที่ตอบสนองช้า มีชุดคำสั่งหรือกฎหมายล้าสมัย หรือมีข้อผิดพลาด (bug) มากทำให้ให้เกิดต้นทุนสูงต่อสังคม 
ร่าง พ.ร.บ.เข้าชื่อเสนอกฎหมายฉบับใหม่ ล่ารายชื่อออนไลน์ได้
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.เข้าชื่อเสนอกฎหมายฉบับใหม่ ล่ารายชื่อออนไลน์ได้

ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงในด้านเทคโนโลยีที่เป็นไปอย่างรวดเร็ว ทำให้ พ.ร.บ.เข้าชื่อเสนอกฎหมายฯ ที่บังคับใช้อยู่ไม่สอดคล้องกับวิถีชีวิตตามยุคสมัย ดังนั้น จึงมีความพยายามจากภาครัฐให้มีการแก้ไขกฎหมายดังกล่าว ซึ่งในปัจจุบัน มีร่างกฎหมายอยู่อย่างน้อยสองฉบับที่ปรากฎต่อสาธารณะ ได้แก่ ฉบับที่เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) พรรคก้าวไกล และฉบับคณะรัฐมนตรี โดยจุดร่วมของร่างกฎหมายสองฉบับนี้ คือ การส่งเสริมระบบการเข้าชื่อเสนอกฎหมายผ่านช่องทางออนไลน์ 
“ร่าง พ.ร.บ.เกณฑ์ทหาร” ฉบับก้าวไกล ชีวิตใหม่ทหารเกณฑ์
อ่าน

“ร่าง พ.ร.บ.เกณฑ์ทหาร” ฉบับก้าวไกล ชีวิตใหม่ทหารเกณฑ์

พรรคก้าวไกลพยายามจัดทำและผลักดันร่างพระราชบัญญัติรับราชการทหาร หรือ พ.ร.บ.เกณฑ์ทหารฯ ฉบับใหม่ออกมา สาระสำคัญคือกองทัพต้องยกเลิกการบังคับเกณฑ์ทหารและหันมาใช้ระบบสมัครใจ รวมถึงต้องยกระดับชีวิตของทหารเกณฑ์ด้วยการให้สวัสดิการและความก้าวหน้าในชีวิต ควบคู่กับการปกป้องคุ้มครองทหารจากการฝึกที่ละเมิดศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์และการหาประโยชน์ส่วนตนของนายทหารระดับสูง
เอกชนเตรียมปรับตัว ตามมาตรฐานรักษาความปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคล
อ่าน

เอกชนเตรียมปรับตัว ตามมาตรฐานรักษาความปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคล

17 กรกฎาคม 2563 ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ประกาศกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม กำหนดให้ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล 22 กิจการที่ได้รับการยกเว้นให้ไม่ต้องปฏิบัติตาม พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ต้องปฏิบัติตามมาตรการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคล และจัดการระบบภายในองค์กร เพื่อให้มีมาตรฐานในการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลให้มีความปลอดภัยในระดับหนึ่ง
เปิดคำสั่ง ศบค. คณะทูตซูดาน/ทหารอียิปต์ เข้าไทยต้องกักตัว 14 วันทุกคน
อ่าน

เปิดคำสั่ง ศบค. คณะทูตซูดาน/ทหารอียิปต์ เข้าไทยต้องกักตัว 14 วันทุกคน

คณะทูตซูดานและทหารอียิปต์เข้าประเทศตามเงื่อนไขคำสั่ง ศบค.ที่ 7/2563 แต่ประชาชนต้องตกอยู่ในความเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 อีกครั้งเพราะเจ้าหน้าที่ของรัฐหละหลวมในการบังคับใช้มาตรการ
รวมเสียงสะท้อนความเดือดร้อนของผู้ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดโรคโควิด 19
อ่าน

รวมเสียงสะท้อนความเดือดร้อนของผู้ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดโรคโควิด 19

นับตั้งแต่ที่ประเทศไทยต้องเผชิญกับการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 และรัฐบาลได้มีการประกาศใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯเพื่อควบคุมโรค  ประชาชนได้รับความเดือดร้อนกันถ้วนหน้า  และนี่คือตัวอย่างเรื่องราวของผู้ที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 และมาตรการดูแลเยียวยาที่ไม่ชัดเจนของรัฐบาล   
กองทัพไม่โปร่งใสเพราะกฎหมายไม่เอื้อให้ตรวจสอบ
อ่าน

กองทัพไม่โปร่งใสเพราะกฎหมายไม่เอื้อให้ตรวจสอบ

กองทัพไทยเป็นหน่วยงานที่ถูกตั้งแง่เรื่องความโปร่งใสมาโดยตลอด และผู้เปิดโปงการทุจริตภายในกองทัพต้องถูกลงโทษทางวินัยและให้ออกจากราชการ สะท้อนให้เห็นว่ากลไกและกฎหมายภายในกองทัพเป็นอุปสรรคสำคัญที่ทำให้กองทัพไทยเป็นหน่วยงานที่ขาดความโปร่งใส-ตรวจสอบไม่ได้
รับเงินบริจาคไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตัวเข้าข่ายผิดฐาน “ฉ้อโกงประชาชน”
อ่าน

รับเงินบริจาคไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตัวเข้าข่ายผิดฐาน “ฉ้อโกงประชาชน”

การเปิดรับบริจาคและนำเงินไปใช้ผิดวัตถุประสงค์ หรือนำไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตัวอาจจะเข่าข่ายความผิดฐานฉ้อโกงประชาชน ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 341 และ 343 วรรคหนึ่ง แต่ไม่สามารถผิด พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ มาตรา 14 (1) ได้ เพราะเจตนารมณ์ของกฎหมายเป็นเรื่องการใช้เทคโนโลยีกระทำความผิด มิใช่การกระทำความผิดจากการโพสต์ข้อความในโลกออนไลน์ 
ชมจริงหรือพีอาร์? มองเพดาน “การโฆษณาภาครัฐ” ผ่านกฎหมาย
อ่าน

ชมจริงหรือพีอาร์? มองเพดาน “การโฆษณาภาครัฐ” ผ่านกฎหมาย

การโฆษณาประชาสัมพันธ์โดยปกติแล้วไม่ใช่เรื่องผิดบาป เพียงแต่มีเส้นที่ยังต้องกำกับกันอยู่บ้างเพื่อคุ้มครองผู้บริโภคสื่อไม่ให้ถูกครอบงำ หรือชักจูงให้หลงเชื่อจนเกิดผลเสีย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการประชาสัมพันธ์หรือโฆษณาจากภาครัฐที่นำเม็ดเงินภาษีประชาชนไปใช้ ยิ่งต้องมีการกำกับอย่างเคร่งครัด
ตามหาวันเฉลิม: ถอดบทเรียนการต่อสู้เพื่อกลไกป้องกันการบังคับสูญหาย
อ่าน

ตามหาวันเฉลิม: ถอดบทเรียนการต่อสู้เพื่อกลไกป้องกันการบังคับสูญหาย

ภาคประชาสังคมที่ทำงานขับเคลื่อนประเด็นป้องกันการทรมานและอุ้มหายจัดวงเสวนาเรื่อง “ตามหาวันเฉลิม: ตามหาหลักประกันความปลอดภัยของประชาชนจากการถูกบังคับสูญหาย (และทรมาน)” สะท้อนความรู้สึกของผู้ใกล้ชิด บทเรียนความพยายามในการสร้างกลไกในการป้องกันการทรมานและการบังคับสูญหาย