อ้างโควิด!??! เลื่อนใช้พ.ร.บ.ข้อมูลส่วนบุคคลฯ ไปอีกปี “ลอยตัว” ต่อเป็นปีที่สาม
อ่าน

อ้างโควิด!??! เลื่อนใช้พ.ร.บ.ข้อมูลส่วนบุคคลฯ ไปอีกปี “ลอยตัว” ต่อเป็นปีที่สาม

แม้พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล จะประกาศใช้มาตั้งแต่ปี 2562 แต่พอถึงกำหนดบังคับใช้ รัฐบาล คสช.2 ก็เลื่อนการบังคับใช้ออกไป เป็นครั้งที่สองแล้ว บริษัทยักษ์ใหญ่ผู้เก็บข้อมูลก็ยังลอยตัว ไม่มีกฎหมายบังคับ ระหว่างนี้ยังเอาข้อมูลไปทำอะไรก็ได้ โดยไม่มีความชัดเจนว่าเมื่อใดถึงจะพร้อมใช้จริง แถมการเลื่อนครั้งนี้อ้างโควิด-19 กระทบเศรษฐกิจและสังคม
การปิดกั้นข้อมูลข่าวสารโดยร่างกฎหมายข้อมูลข่าวสารฉบับใหม่
อ่าน

การปิดกั้นข้อมูลข่าวสารโดยร่างกฎหมายข้อมูลข่าวสารฉบับใหม่

เลิศศักดิ์ คำคงศักดิ์ ชี้รัฐบาล “สบช่อง” ความขัดแย้งทางการเมืองเสนอร่างพ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารฯ กำลังจะทำให้สังคมไทยหมุนกลับไปอยู่ในบรรยากาศ ‘ปกปิดเป็นหลัก เปิดเผยเป็นข้อยกเว้น’ ข้อมูลด้านการทหาร การป้องกันประเทศ การข่าวกรอง จะเปิดเผยไม่ได้
7 ปี แห่งความถดถอย : วุฒิสภาของ คสช. ผ่านกฎหมายได้ 11 ฉบับ ปั๊มตรายางให้ พ.ร.ก. 6 ฉบับ
อ่าน

7 ปี แห่งความถดถอย : วุฒิสภาของ คสช. ผ่านกฎหมายได้ 11 ฉบับ ปั๊มตรายางให้ พ.ร.ก. 6 ฉบับ

ส.ว. “ชุดพิเศษ” 250 คน ที่มาจาก คสช. กลายเป็นองค์กรที่มีพื่อสืบทอดอำนาจของคสช. และขวาง #แก้รัฐธรรมนูญ  แต่อำนาจหน้าที่ในกระบวนการออกกฎหมายก็ยังอยู่ในมือของพวกเขาด้วย ผลงานตลอด 2 ปีในตำแหน่ง พวกเขาลงมติผ่านร่างพระราชบัญญํติได้ 11 ฉบับ และอนุมัติพระราชกำหนดให้คณะรัฐมนตรีได้ 6 ฉบับ โดยเสียง เห็นชอบแทบจะไม่มีแตกแถว
7 ปี แห่งความถดถอย : ประยุทธ์ปัดตกร่างกฎหมายถ่วงความก้าวหน้าและคุณภาพชีวิตประชาชน
อ่าน

7 ปี แห่งความถดถอย : ประยุทธ์ปัดตกร่างกฎหมายถ่วงความก้าวหน้าและคุณภาพชีวิตประชาชน

หลังพล.อ.ประยุทธ์ เข้าดำรงตำแหน่งนายกฯ สมัยที่สอง ได้ใช้อำนาจในการไม่ให้คำรับรองกฎหมาย หรือ อำนาจในการปัดตกกฎหมาย ไปอย่างน้อย 21 ฉบับ และพบว่าในจำนวนดังกล่าวเป็น ร่างกฎหมายที่เกี่ยวกับคุณภาพชีวิตประชาชน อย่างน้อย 11 ฉบับ และที่เกี่ยวกับสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง อย่างน้อย 4 ฉบับ
เปิดเกณฑ์การ “สึกพระ” ตามพ.ร.บ.คณะสงฆ์-กฎมหาเถรสมาคม
อ่าน

เปิดเกณฑ์การ “สึกพระ” ตามพ.ร.บ.คณะสงฆ์-กฎมหาเถรสมาคม

แม้นักบวชของพุทธศาสนา จะมีจุดมุ่งหมายคือการเข้าสู่โลกแห่งธรรม และมุ่งถึงนิพพาน แต่ชีวิตและสถานะความเป็นภิกษุสงฆ์ในรัฐไทยก็ไม่แยกขาดออกจากเรื่องทางโลกเสียทีเดียว เมื่อรัฐไทยยังกำกับการปกครองคณะสงฆ์ มีกฎหมาย-กฎมหาเถรสมาคมมากำหนดเรื่องการพ้นจากสถานะความเป็นภิกษุสงฆ์ หรือการสละสมณเพศ
ถ้าได้ใช้ พ.ร.บ.ประชามติฯ รัฐสภา-ประชาชน เสนอทำประชามติได้
อ่าน

ถ้าได้ใช้ พ.ร.บ.ประชามติฯ รัฐสภา-ประชาชน เสนอทำประชามติได้

แม้ประเทศไทยจะเคยมีการทำประชามติมาแล้วหลายครั้ง แต่ก็ไม่เคยมีกฎหมายประชามติที่ใช้เป็นการทั่วไปมาก่อน ถ้าหากร่างพ.ร.บ.ประชามติฯ ผ่านการพิจารณาของรัฐสภา จะเป็นกฎหมายที่รองรับการจัดทำประชามติเพื่อให้ประชาชนผู้เป็นเจ้าของประเทศมีส่วนร่วมตัดสินใจได้ และรัฐสภา-ประชาชน ก็สามารถเสนอเรื่องประชามติได้
ร่าง พ.ร.บ.ประชามติฯ: ต้องใช้เสียงแค่ไหนจึงจะผ่านประชามติ
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.ประชามติฯ: ต้องใช้เสียงแค่ไหนจึงจะผ่านประชามติ

ร่างพ.ร.บ.ประชามติฯ กำหนดว่าการผ่านประชามติร่างรัฐธรรมนูญจะต้องได้เสียงข้างมากสองชั้น ขณะที่หากเป็นประชามติในประเด็นอื่นๆ กำหนดให้ใช้เสียงข้างมากของผู้มาออกเสียงประชามติ ซึ่งการกำหนดเช่นนี้มีความเหมือนและต่างจากกฎหมายประชามติในอดีต
ร่าง พ.ร.บ.ประชามติฯ : เผยแพร่ข้อมูลอันเป็นเท็จ จำคุกห้าปี-ปรับไม่เกินหนึ่งแสน
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.ประชามติฯ : เผยแพร่ข้อมูลอันเป็นเท็จ จำคุกห้าปี-ปรับไม่เกินหนึ่งแสน

17 มีนาคม 2564 ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภามีนัดพิจารณา "ร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการออกเสียงประชามติ" หรือ ร่าง พ.ร.บ.ประชามติฯ ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว โดย ร่าง พ.ร.บ.ประชามติฯ ฉบับนี้ มีสาระสำคัญว่า การจัดประชามติจะกระทำได้ในสองกรณี คือ การแก้รัฐธรรมนูญ กับ ที่ครม. มีมติเสนอ และผลการตัดสินประชามติให้ใช้เสียงเกินกึ่งหนึ่งของผู้มีสิทธิและผู้มาใช้สิทธิ อีกทั้ง ให้อำนาจ กกต. ในการกำกับการแสดงความคิดเห็นผ่านสื่อโทรทัศน์ รวมถึงมีบทลงโทษสำหรับการเผยแพร่ข้อมูลอันเป็นเท็จซึ่งมีโทษจำคุกถึงห้าปี และปรับไม่เกิน 100,000 บาท
สภาผู้แทนฯ เห็นชอบ ถอด “พืชกระท่อม” ออกจากบัญชียาเสพติด
อ่าน

สภาผู้แทนฯ เห็นชอบ ถอด “พืชกระท่อม” ออกจากบัญชียาเสพติด

27 ม.ค.64 สภาผู้แทนราษฎรห็นชอร่างพ.ร.บ.ยาเสพติดให้โทษ ยกเลิกพืชกระท่อมออกจากบัญชียาเสพติดให้โทษประเภท 5 ขั้นตอนต่อจากนี้ ส่งไปยังวุฒิสภาเพื่อให้พิจารณาก่อนจะมีประกาศใช้เป็นกฎหมายต่อไป
“พ.ร.บ.การเงินฯ” กับ อำนาจนายกฯ สำหรับ ‘ปัดตก’ หรือ ‘ดอง’ กฎหมาย
อ่าน

“พ.ร.บ.การเงินฯ” กับ อำนาจนายกฯ สำหรับ ‘ปัดตก’ หรือ ‘ดอง’ กฎหมาย

นับจนถึงวันที่ 20 มกราคม 2564 มีร่างกฎหมายที่นายกฯ ไม่ให้คำรับรองหรือปัดตก อย่างน้อย 12 ฉบับ และมีกฎหมายอย่างน้อย 27 ฉบับ ที่นายกฯ ยังไม่ได้ให้คำรับรอง หรือ ถูกดองไว้